Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 การบริการสุขภาพ :ปรัชญาระบบและการพัฒนา - Coggle Diagram
หน่วยที่ 1
การบริการสุขภาพ :ปรัชญาระบบและการพัฒนา
1.1 ปรัชญาการบริการสุขภาพ
การได้รับบริการสุขภาพเป็นสิทธิของบุคคล
ด้านเทคโนโลยีทั่วไปและเทคโนโลยีด้านสุขภาพมีความเปลี่ยนแปลงก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้งและมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
การเกิดธรณีพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ
ใน 6 จังหวัดภาคใต้
เกิดการเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิตของประชากรไทย
เพื่อให้เกิดความเข้าใจด้านปรัชญาการบริการสุขภาพ
สิทธิมนุษยชน
บุคคลมีสิทธิที่จะตัดสินใจในกิจการ ต่าง ๆ
ส่วนตัวด้วยตนเอง
มาตรา 28
ว่า บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือใช้สิทธิเสรีภาพของตนได้ เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่นๆ
มาตรา 31
ระบุว่า บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย
คำประกาศสิทธิและข้อพึงปฏิบัติของผู้ป่วย
ผู้ป่วยมีสิทธิขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพสุขภาพอื่น
ผู้ป่วยมีสิทธิจะได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และวิชาชีพของผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัว จากการเป็นผู้เข้าร่วมหรือผู้ถูกทดลองในการทำวิจัย
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับความช่วยเหลือรีบด่วน
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตน
ผู้ป่วยมีสิทธิที่ขอรับบริการด้านสุขภาพ มีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลที่เป็นจริงและเพียงพอเกี่ยวกับการเจ็บป่วย การตรวจ การรักษา
บิดามารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยเด็กที่อายุยังไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต
ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับการรักษาพยาบาล
ตามมาตรฐานวิชาชีพ
ข้อพึงปฏิบัติของผู้ป่วย
ปฏิบัติต่อผู้ประกอบวิชาชีพด้วยความสุภาพให้เกียรต
แจ้งสิทธิการรักษาพยาบาลพร้อมหลักฐานที่ตนมีให้เจ้าหน้าทีทราบ
ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของสถานพยาบาล
ผู้ป่วยพึงทราบข้อเท็จจริงทางการแพทย
ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
ให้ข้อมูลด้านสุขภาพและข้อเท็จจริงต่างๆ ทางการแพทย์ที่เป็นจริงและครบถ้วน
สอบถามเพื่อทำความเข้าใจข้อมูล และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นก่อนลงนามให้ความยินยอม
1.2 การปฏิรูประบบสุขภาพ
ปรัชญาพื้นฐานของการปฏิรูประบบสุขภาพ
ประสิทธิภาพ
คุณภาพ
ความเสมอภาค
พัฒนาศักยภาพผู้บริโภค
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
การพึ่งตนเอง
การมีส่วนร่วม
ความเป็นองค์รวม
ประเด็นสำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
การเงินการคลังด้านสุขภาพ
การประเมินเทคโนโลยี
การบริการสุขภาพ
การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
การควบคุมและป้องกันโรค
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
องค์กร/กลไกอภิบาลระบบสุขภาพ
ระบบวิจัยสุขภาพ
การสร้างสุขภาพ
1.3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
กระบวนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ใช้ควบคู่กับมาตรฐานมี 4 ประการ
การใช้ค่านิยมและแนวคิดหลัก
วงล้อการพัฒนาคุณภาพและการเรียนร
การพิจารณาบริบทขององค์กรและหน่วยงาน
แนวทางการประเมินระดับการปฏิบัติตามมาตรฐาน
ภาพรวมของการบริหารองค์กรประกอบด้วย 4 ตอน
ตอนที่ 2
จัดระบบงานสำคัญของโรงพยาบาล
ตอนที่ 3 กระบวนการดูแลผู้ป่วย
ตอนที่ 1 การวัด วิเคราะห์ และจัดการ
ความร