Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บุคลากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย - Coggle…
บุคลากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
บุคลากรในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
นักการยศาสตร์
นักพิษวิทยา
แพทย์อาชีวอนามัย
วิศวกร
พยาบาลอาชีวอนามัย
นายจ้าง
นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
ลูกจ้างหรือพนักงาน
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
องค์การด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ
4.2 หน่วยงานบริหารระดับปฏิบัติการ
4.2.3 แผนกการเงินและบัญชี (Financial and Accounting Department)
4.2.4 แผนกจัดซื้อ (Purchasing Department)
4.2.2 แผนกบุคคล (Human Resource Department: HR)
4.2.5 แผนกการตลาด (Marketing Department)
4.2.1 แผนกอาชีวอนามัยความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(Occupational Health Safety and Environment Department)
4.2.6 แผนกควบคุมคุณภาพ (Quality Control Department: QC)
4.2.7 แผนกคลังสินค้าและคลังวัตถุดิบ (Store Department)
4.2.8 แผนกการผลิต (Production Department)
4.2.9 แผนกซ่อมบำรุง (Maintenance Department)
4.3 บทบาทของหน่วยงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย
และสภาพแวดล้อมในสถานประกอบการ
4.1 หน่วยงานบริหารระดับสูง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
องค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1.1 กระทรวงสาธารณสุข
1.1.3 โรงพยาบาลในสังกัดของกระทรวงสาธารณสุข
1.1.2 งานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
1.1.1 สำนักโรคจาการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
1.2 กระทรวงอุตสาหกรรม
1.2.2 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
1.2.3 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
1.2.1 สำนักทรัพยากรแร่ กรมทรัพยากรธรณี
1.2.4 สำนักควบคุมอันตราย
1.2.5 สำนักเทคโนโลยีความปลอดภัย
1.2.6 สำนักมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
1.3 กระทรวงแรงงาน
องค์กรวิชาชีพและสมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2.3 สมาคมแพทย์อาชีวเวชศาสตร์และสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย
2.4 สมาคมการพยาบาลอาชีวอนามัยแห่งประเทศไทย
2.2 สมาคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
2.5 สมาคมการยศาสตร์ไทย
2.1 สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (สปอท)
2.6 ชมรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในจังหวัด หรือ เขตต่างๆ
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในต่างประเทศ
สำนักการบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
(Occupational Health of Safety Administration; OSHA)
สมาคมนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรมของประเทศสหรัฐอเมริกา
(American Conference of Governmental Industrial Hygienists; ACGIH)
สถาบันความปลอดภัยและอนามัยในการทำงานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (National Institute for Occupational Safety and Health; NIOSH)
องค์การอนามัยโลก หรือ World Health organization (WHO)
องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ หรือ International Labour Organization (ILO)
งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในงานสาธารณสุข
หน้าที่นักสาธารณสุขในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2.2 การศึกษา วิจัย วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหาด้านอาชีวอนามัยบาง
ปัญหาเป็นปัญหาที่ยากจะแก้ไข มีความซับซ้อน
2.3 การวางแผนและปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ การวางแผนเป็นกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดความต้องการ
2.1 การค้นหา วิเคราะห์ และวินิจฉัยปัญหา โดยการตรวจสอบสิ่งแวดล้อม
การทำงานการตรวจสอบเกี่ยวกับการได้รับสิ่งแวดล้อมของคนงาน
หน้าที่งานสาธารณสุข
1.1 วางแผนสนับสนุนการดำเนินงานด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพทางร่างกายและจิตใจ
1.2 กำกับดูแลการปฏิบัติ การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
งานอนามัยแม่และเด็ก การควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
คณะกรรมการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานขององค์กร
ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา
ผู้แทนลูกจ้าง
นายจ้างหรือตัวแทนนายจ้าง เป็นประธานกรรมการ
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับวิชาชีพ