Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Management in the ward การบริหารจัดการดูแลผู้ป่วย, นางสาวดาวิษา เพริศแก้ว…
Management in the ward
การบริหารจัดการดูแลผู้ป่วย
การจัดระบบบริการประกอบด้วย
Team method
Holistic Patient Care
เป็นการดูแลผู้รับบริการหรือผู้ป่วยโดยมองให้ครบทุกด้านไม่แยกส่วนโดยคำนึงถึงองค์ประกอบทั้ง 4 ได้แก่ ร่างกายจิตใจสังคมและจิตวิญญาณไม่ได้พิจารณาเฉพาะโรคที่เป็นหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
ตระหนักถึงความเป็นองค์รวมของบุคคล
สร้างสภาพแวดล้อมต่อการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้รับบริการ
ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
4.สร้างสัมพันธภาพเชิงบำบัดกับผู้รับบริการ
การให้ข้อมูลและความรู้แก่ผู้รับบริการ
การเสริมสร้างพลังอำนาจให้ผู้รับบริการและครอบครัว
สนับสนุนกระบวนการเฟ้นหายของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการอย่างเอื้ออาทรการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้วิธีพื้นบ้านที่เป็นประโยชน์ในการส่งเสริมสุขภาพ
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายให้ปฏิบัติการพยาบาลดูแลผู้ป่วยเป็นทีมที่ประกอบด้วยบุคลากรทางการพยาบาลหลายระดับในทีมมีหัวหน้าเวรรับผิดชอบในหอผู้ป่วยทั้งหมดในเวรหัวหน้าทีมรับผิดชอบทั้งหมดในทีมพยาบาลเจ้าของผู้ป่วยที่รับผิดชอบดูแลผู้ป่วยที่ได้รับมอบหมายจำนวนทีมที่จัดแบ่งขึ้นอยู่กับจำนวนผู้ป่วยความรุนแรงซับซ้อนของผู้ป่วยตลอดจนสภาพของอาคารสถานที่ในหน่วยงานการจัดการดูแลแบบทีมมีข้อดี-ข้อด้อยของการจัดให้บริการในรูปแบบนี้
Fuctional method
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายให้ปฏิบัติการพยาบาลดูแลผู้ป่วยตามกิจกรรมหรือหน้าที่ ที่ให้บริการโดยจัดแบ่งกิจกรรมการพยาบาลให้กับพยาบาลในรอบเวรนั้น ๆ ตามความรู้ความสามารถ ได้แก่ การฉีดยาทำแผลให้อาหารรับผู้ป่วยใหม่ทำจำหน่ายช่วยแพทย์ทำหัตถการเป็นต้นการจัดการดูแลแบบกิจกรรมหรือหน้าที่มีข้อดี-ข้อด้อยในการจัดให้บริการรูปแบบนี้
case method
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายผู้ป่วยให้แก่พยาบาลทําการดูแลเป็นราย ๆไปโดยที่พยาบาล ผู้รับผิดชอบดูแลผู้ป่วยรายนั้นให้การดูแลทุกอย่างครบถ้วนภายในรอบเวรนั้นพยาบาลจะได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่วยในลักษณะความรุนแรงซับซ้อน (Complicate) มากกน้อยต่างกันตาม แต่สมรรถนะของพยาบาล
รูปแบบการปฎิบัติงานในหอผู้ป่วย
การจัดคนเข้าทำงาน
1.ลักษณะของผู้รับบริการและปริมาณของผู้รับบริการ
ความต้องการของผู้รับบริการ
3.จํานวนของผู้รับบริการรายใหม่
ระยะเวลาของผู้รับบริการที่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
อาการและความยุ่งยากความซับซ้อนของผู้รับบริการ
นโยบายการบริหารงานบุคลากร
ระดับการศึกษาของพยาบาล
การขาดงานของพยาบาล
ความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์และเครื่องใช้
ลักษณะการแบ่งงานในหอผู้ป่วย
การมอบหมายงาน
-Public การมอบหมายงานเฉพาะรายผู้ป่วย (Case Method) เป็นการมอบหมายให้พยาบาลดูแลให้การพยาบาลโดยทั้งหมดแก่ผู้ป่วย 1 รายหรือมากกว่าซึ่งเป็นการพยาบาลเบ็ดเสร็จอย่างสมบูรณ์แบบ
-การมอบหมายงานเฉพาะหน้าที่ (Functional Method) เป็นวิธีมอบหมายงานที่แบ่งการพยาบาลออกเป็นกิจกรรมและมอบหมายให้พยาบาลแต่ละคนรับผิดชอบเฉพาะ 1-2 กิจกรรม
-การมอบหมายงานเป็นทีม (Team Method) เป็นการมอบหมายงานให้บุคลากรทําเป็นกลุ่มเล็กโดยมีพยาบาลวิชาชีพทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มแบ่งความรับผิดชอบจากหัวหน้าตึกและกระจายความรับผิดชอบไปยังบุคลากรอื่นที่ร่วมกลุ่มปฏิบัติ
-งานการมอบหมายงานแบบผสมผสาน (Mix Method) เป็นการมอบหมายงานที่ไม่ได้ใช้วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะ แต่เป็นการผสมผสานกันเช่นแบบทีมรวมกับแบบตามหน้าที่
การจัดการเวลาปฎิบัติงานของพยาบาล
การจัดเวลาท่างานเป็นเวร (shift)
โดยอาจจัดเวรละ 8 ชั่วโมง ต่อคนในระยะเวลา 1 วัน จัดให้หยุดได้ 2 วันใน 7 วัน และเป็นที่ใช้กันอยู่แพร่หลายโรงพยาบาล
เวรเช้าตั้งแต่ 7.00-15.00 น. หรือ 8.00-16.00 น. หรือ 8.30-16.30 น.
เวรบ่ายตั้งแต่ 15.00-23.00 น. หรือ 16.00-24.00 น. หรือเวรบ่ายตั้งแต่ 16.30-0.30 น.
เวรดึกตั้งแต่ 23.00 -7.00 น. หรือ 24.00-8.00 น. หรือ 0.30-8.30 น.
การจัดเวรละ 10 ชั่วโมงในหนึ่งวันสัปดาห์ละ 4 วัน
เวรเช้า 7.00-17.30 น.
เวรบ่าย 13.00-23.30 น.
เวร ดึก 21.00-7.30 น.
ตำเเหน่งงานในหอผู้ป่วย
Head ward
บทบาทหน้าที่
รับผิดชอบบริหารการพยาบาลในระดับหน่วยงาน
ตรวจสอบควบคุมการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทุกระดับให้ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
ผู้เชี่อมโยงนโยบายจากองค์กรพยาบาลสู่การปฏิบัติในหอผู้ป่วย
เป็นผู้นำในการปฏิบัติการพยาบาลให้คำปรึกษา แนะนำ และวินิจฉัยสั่งการในกรณีผู้ปฏิบัติไม่สามารถแก้ไขปัญหา
กําหนดแนวทางการพัฒนาและฟื้นฟูความรู้บุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ
Incharge
บทบาทหน้าที่
ศึกษาผู้ป่วยทุกรายชื่อที่อยู่ในความรับผิดชอบ
มอบหมายงานให้ทีมการพยาบาลล่วงหน้า 1 วัน ก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติงาน
เขียนแผนการปฏิบัติในบทบาทหัวหน้าเวรส่งอาจารย์พี่เลี้ยง
ตรวจสภาพแวดล้อมความเรียบร้อยของสถานที่ อุปกรณ์ต่างๆ และบุคลากรที่ปฏิบัติงานเวร
ร่วมรับเวรกับทุกทีมและบันทึกข้อมูลในสมุดรับ ส่งเวรประจําวัน
Leader
ร่วมประชุมปรึกษาทางการพยาบาลผู้ป่วยในทีม
ปฏิบัติตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
ประสานงานและรายงานการทำงานกับหัวหน้าเวร
ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
ปรึกษาและร่วมแก้ไขปัญหาทางการพยาบาลกับหัวหน้าเวร
ดูแลเครื่องมือและจัดเก็บ บำรุงรักษา
บันทึกและรายงานการปฏิบัติการพยาบาล
การประสานงาน (Co-ordination)
เป็นการจัดระเบียบการทำงานที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้กับบุคลากรร่วมมือ ทำงานด้วยความสามัคคีและทำงานไม่ซับซ้อน เพื่อให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
หลักการมอยหมายงานที่ดี จะมอบหมายงานให้เหมาะสมกับผู้ปฎิบัติแต่ละคน
ต้องเป็นไปตามระดับความต้องการของพยาบาลแต่ละคน
ต้องเป็นตัวแทนแสดงถึงความร่วมมือระหว่างผู้บริหารและผู้ปฎิบัติงาน
ต้องให้ความปลอดภัยและการพยาบาลที่ดีแก่ผู้ป่วย
นางสาวดาวิษา เพริศแก้ว 62103460 sec2