Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายลักษณะหนี้ - Coggle Diagram
กฎหมายลักษณะหนี้
2 ทราบที่จะส่งมอบเป็นเงินตราทรัพย์ที่ลูกหนี้จะต้องส่งมอบหรือทรัพย์สินที่เป็นวัตถุแห่งการชำระหนี้นั้นนอกจากทรัพย์สินอื่นๆไปอย่างอื่นแล้วเงินตรายังเป็นทรัพย์สินที่ลูกหนี้จะต้องส่งมอบอย่างหนึ่ง
-
-
-
ประการที่ 4เงินตรานั้นไม่มีความแตกต่างกันในตัวเงินตราเพราะมีค่าเพียงเป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนมีค่ามีราคาตามที่กำหนดไว้เมื่อราคาเท่ากันแล้วผลในทางกฎหมายก็เท่ากัน
1 กรณีนี่เงินได้แสดงไว้เป็นเงินต่างประเทศ มาตรา 196 บัญญัติว่า'ถ้าหนี้ได้แสดงเป็นเงินต่างประเทศท่านว่าส่งใช้เป็นเงินไทยก็ได้การเปลี่ยนเงินนี้ให้คิดตามอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่และในเวลาที่ใช้เงิน"
2 กรณีเงินตราที่จะพึงส่งใช้เป็นอันยกเลิกไม่ใช้แล้ว เงินตราชนิดต่างๆนั้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงบางชนิดอาจยกเลิกเช่นประเทศไทยในอดีตใช้พดด้วงใช้เงินอัดเป็นเงินตราหรือในสมัยโบราณใช้ อีแป๊ะ หรือเบี้ยเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนแต่ปัจจุบันเงินตราเช่นนี้ได้ยกเลิกไปหมดแล้ว
4 วัตถุแห่งหนี้ซึ่งเลือกชำระได้หนี้ที่เกิดจากมูลแห่งนี้ต่างไม่ว่าจะเกิดจากสัญญาหรือหนี้เกิดจากละเมิดก็อาจมีหนี้ที่มีวัตถุแห่งหนี้เป็นอย่างเดียวที่เรียกว่าหนี้เดี่ยว
หนี้ที่เป็นหนี้ผสม นี้อาจเป็นหนี้ที่ต้องเลือกชำระชก็ได้ซึ่งหมายถึงหนี้ที่มีวัตถุหลายอย่างแต่ไม่ต้องทุกอย่าง
-
-
-
4 ผลของการเลือก การเรื่องนั้นกฎหมายกำหนดให้แสดงเจตนาต่อคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งดังกล่าวแล้วการใช้สิทธิเลือกนั้นเป็นการแสดงเจตนาที่มีผลทางกฎหมาย
5 กรณีการชำระหนี้บางอย่างเป็นพ้นวิสัยในระหว่างที่มีหนี้เกิดขึ้นและนี่นั้นมีการอันพึงต้องทำเพื่อชำระหนี้หลายอย่างแต่ลูกหนี้ต้องทำเพียงบางอย่าง
1.2 กำหนดการชำระหนี้กำหนดการชำระหนี้เป็นสิ่งสำคัญในการชำระหนี้ของลูกหนี้เพราะหากลูกหนี้ไม่รู้กำหนดเวลาชำระหนี้ของตนแล้วก็ไม่อาจชำระหนี้ให้ตามความประสงค์อันแท้จริงของมูลหนี้ได้กำหนดระยะเวลาชำระหนี้นั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณี
1หนี้ที่มิได้กำหนดระยะเวลานี้ แต่หน้าที่มีได้กำหนดระยะเวลานี่ไว้มิได้หมายความว่าลูกหนี้จะไม่ต้องชำระ
2 หนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระ หนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระหนี้นี้อาจเป็นหนี้ที่กำหนดเวลาชำระไว้โดยชัดแจ้งเช่นกำหนดวันปฏิทินหรือกำหนดตามข้อเท็จจริงเช่นยืมชุดครุยเพื่อไปรับปริญญาและจะส่งคืนเมื่อรับปริญญาเสร็จ
กำหนดเวลาชำระหนี้ไว้แต่เป็นที่สงสัย กรณีนี้มาตรา 203 วรรค 2 บัญญัติว่า " ถ้าได้กำหนดเวลาไว้แต่หากกรณีเป็นที่สงสัยท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าหนี้จะเรียกให้ชำระหนี้ก่อนเวลานั้นหาได้ไม่แต่ฝ่ายลูกหนี้จะชำระหนี้ก่อนกำหนดนั้นก็ได้ " การที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่า"ถ้าได้กำหนดเวลาไว้แต่หากกรณีเป็นที่สงสัย"นั้นศาสตราจารย์หม่อมราชวงศ์เสนีปราโมทย์ เห็นว่า " ที่ว่าหากกรณีเป็นที่สงสัยนั้นไม่ได้หมายความว่าจะสงสัยในกำหนดเวลาชำระหนี้เพราะวันเดือนปีหรือกำหนดอื่นอันเป็นเวลาที่จะพึงชำระหนี้ได้กำหนดไว้แล้วไม่อาจเป็นที่สงสัยได้ข้อที่เกิดเป็นกรณีอันสงสัยก็คือเจ้าหน้าที่จะเรียกให้ชำระหนี้ก่อนกำหนดนั้นได้หรือไม่หรืออีกนัยหนึ่งเกิดสงสัยการขึ้นว่าประโยชน์แห่งเวลาได้แก่เจ้าหนี้ไม่ใช่แก่ฝ่ายลูกหนี้และเจ้าหนี้จะเอาชำระหนี้ก่อนกำหนดนั้นดังนั้นท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าหนี้จะเรียกให้ชำระหนี้ก่อนกำหนดหาได้ไม่"
2 กำหนดเวลาชำระหนี้ไว้ไม่เป็นที่สงสัย กำหนดเวลาชำระหนี้ที่ลูกหนี้และเจ้าหนี้กำหนดไว้นั้นเมื่อไม่เป็นที่สงสัยก็แบ่งออกได้เป็น 2 อย่าง
1 กำหนดเวลาชำระหนี้ตามวันแห่งปฏิทิน
2 กำหนดเวลาชำระหนี้มิใช่ตามปฏิทิน
1 ทรัพย์สินที่จะส่งมอบเป็นทรัพย์สินทั่วไป ทรัพย์สินที่จะส่งมอบเป็นทรัพย์สินทั่วไปนี้อาจเป็นได้ทั้งสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์และเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งหรือไม่ใช่ทรัพย์เฉพาะสิ่งก็ได้แม้จะเป็นทรัพย์ในอนาคต คือในขณะที่เกิดหนี้นั้นลูกหนี้ยังไม่มีทรัพย์นั้นอยู่เลยก็ได้
1การที่ทรัพย์นั้นจะเป็นวัตถุแห่งหนี้ ในกรณีที่ทรัพย์นั้นไม่ใช่ทรัพย์เฉพาะสิ่งเช่นหนี้ส่งมอบข้าวสาร 1 กระสอบเช่นนี้ทรัพย์นั้นก็ยังมิใช่วัตถุแห่งหนี้เพราะลูกหนี้จะไปเอาข้าวสารกระสอบใดมาส่งก็ได้
2 กรณีทราบที่จะต้องส่งมอบได้ระบุไว้เป็นเพียงประเภท เมื่อทรัพย์ที่จะชำระหนี้ได้ระบุไว้เป็นเพียงประเภทเป็นต้นว่าต้องส่งมอบข้าวสารจำนวน 10 กิโลกรัมเช่นนี้ปัญหาว่าลูกหนี้จะต้องส่งมอบข้าวสารที่มีคุณภาพอย่างไรกฎหมายกำหนดหน้าที่ของลุงหนี้ไว้ในมาตรา 195 "เมื่อทราบซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้นั้นได้ระบุไว้แต่เพียงประเภทและธาตุตามสภาพแห่งนิติกรรมหรือตามเจตนาของคู่กรณีไม่อาจกำหนดได้ว่าทรัพย์นั้นมีจะพึงเป็นชนิดอย่างไร ไซร้ท่านว่าลูกหนี้จะส่งมอบทรัพย์ชนิดปานกลาง"
1.3 การผิดนัดไม่ชำระหนี้ การผิดนัดเป็นผลในทางกฎหมายที่กฎหมายได้กำหนดเงื่อนไขเอาไว้อย่างชัดเจนว่ากรณีเช่นใดจึงจะผิดนัดตามกฎหมายซึ่งอาจต่างจากความเข้าใจของคนทั่วไปมากเช่นยืมกระบือของเขาไปไถนาโดยตกลงว่าจะส่งคืนเมื่อสิ้นฤดูนาแต่ปรากฏว่าสิ้นฤดูนานแล้วลูกหนี้ยังไม่เอากระบือมาคืนจนถึงฤดูทำงานใหม่อีกครั้งลูกหนี้ก็ยังไม่นำกระบือไปคืนเช่นนี้ความเข้าใจของคนโดยทั่วไปก็เห็นว่าลูกหนี้น่าจะผิดนัดแล้วซึ่งต่างจากคนในทางกฎหมายซึ่งถือว่าผู้นี้ยังไม่ผิดนัดเพราะเจ้าหนี้ยังไม่ได้เตือนให้ลูกหนี้ชำระหนี้
2 ผลจากการผิดนัดของลูกหนี้ มื้อนี้ถึงกำหนดชำระและรูปนี้มีหน้าที่ชำระตามมาตรา 203 และมาตรา 204 แล้วหากลูกหนี้ไม่อาจอ้างเหตุยกเว้นความผิดตามมาตรา 205 ได้หรือเป็นกรณียกเว้นพรุ่งนี้ต้องผิดนัด
1 ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากการผิดนัด
การที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนดและตกเป็นผู้ผิดนัดนั้นก็ถือว่าเป็นการที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ให้ตามความประสงค์อันแท้จริงเหตุมูลหนี้ด้วยดังนั้นเมื่อการชำระหนี้ล่าช้าเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าหนี้เจ้าหนี้ก็อาจเลือกเอาค่าสินไหมทดแทนได้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 215 ว่า"แม้ลูกนี้ไม่ชำระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงเหตุมูลหนี้ไซร้ เจ้าหนี้จะเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแต่การนั้นก็ได้
2 เจ้านี้อาจไม่รับชำระหนี้
เวลาในการชำระหนี้นั้นแม้จะเป็นส่วนหนึ่งของการชำระหนี้ที่ลูกหนี้จะต้องชำระให้ถูกต้องในเรื่องของเวลาซึ่งเป็นความประสงค์แห่งหมู่นี่อย่างหนึ่งยังได้กล่าวแล้วแต่เวลาในการชำระหนี้นั้นปกติแล้วก็ไม่ใช่สาระสำคัญถึงขนาดที่จะให้เจ้านี่มีสิทธิ์จะปฏิเสธไม่ชำระหนี้ได้เสมอไปแม้ในเรื่องการผิดนัดในบางกรณีแม้พรุ่งนี้จะไม่ชำระหนี้ตามเวลาที่กำหนดก็ยังหาได้ทำให้ลูกหนี้ผิดนัดเสมอไปต้องให้เจ้าหนี้เตือนก่อนถึงจะผิดนัดตามมาตรา 24 วรรคแรก
3 ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดระหว่างผิดนัดเพิ่มขึ้น
นอกจากความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากการผิดนัดการชำระหนี้ดังได้กล่าวมาแล้วซึ่งเป็นความเสียหายจากการผิดนัดโดยตรงแล้วเมื่อลูกหนี้ผิดนัดลูกหนี้ยังต้องรับผิดในความเสียหายในความประมาทเลินเล่อและการที่การชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นในระหว่างผิดนัดด้วย ดั่งบัญญัติไว้ในมาตรา 217 ว่า"ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่เกิดแต่ความประมาทเลิศเลอร์ในระหว่างเวลาที่ตนผิดนัดทั้งจะต้องรับผิดชอบในการที่ชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ผิดนัดนั้นด้วยเว้นแต่ความเสียหายนั้นถึงแม้ว่าตนจะได้ชำระหนี้ทันเวลากำหนดก็คงจะต้องเกิดมีอยู่นั่นเอง"
1 การผิดนัด การพิมพ์นั้นๆเป็นผลทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อลูกหนี้และเจ้าหนี้ทำให้ลูกหนี้มีความผิดบางอย่างเพิ่มขึ้นในขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดสิทธิบางอย่างแก่เจ้าหนี้เช่นกันการผิดนัดมีกฎหมายกำหนดไว้ในลักษณะต่างๆอาจแบ่งแยกพิจารณาได้ 2 กรณีคือ
หนี้ที่ไม่กำหนดเวลาชำระหนี้ตามมาตรา 203นี่ที่ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้จะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้นั้นมาตรา 203 กำหนดให้เจ้าหนี้มีสิทธิ์เรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้โดยพลันและลูกหนี้มีสิทธิ์จะชำระหนี้ของตนได้โดยพลันดุจกันนั้นแม้จะมองได้ว่าแสดงว่ากฎหมายให้ถือเอาว่าหนี้ประเภทนี้กำหนดทันทีที่นับแต่ก่อหนี้และอายุความแห่งสิทธิ์เรียกร้องก็จะเริ่มนับทันทีที่ได้ก่อหนี้ก็ตามแต่เจ้าหนี้ก็ยังไม่เรียกให้ลูกหนี้ชำระลูกหนี้ก็ยังไม่มีหน้าที่ต้องชำระลูกหนี้มีสิทธิ์จะชำระได้ทันทีตั้งแต่ก่อหนี้แต่เจ้าหนี้ที่จะต้องชำระนั้นจะเริ่มขึ้นเมื่อเจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้ชำระการเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก็คือการเตือนให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั่นเอง
1 ลูกหนี้ผิดนัดโดยต้องเตือนก่อน เมื่อมีกำหนดเวลาชำระหนี้แล้วลูกหนี้ก็ต้องชำระหนี้ตามกำหนดนั้นแต่การที่ลูกหนี้ไม่ชำระนั้นในบางกรณีกฎหมายยังไม่ถือว่าลูกหนี้ผิดนัดในบางประเภทนั้นกฎหมายกำหนดให้เจ้าหนี้ต้องเตือนตรงนี้ก่อนลูกหนี้จึงจะผิดนัดคือการผิดนัดคือการกระทำของเจ้าหนี้เพื่อให้ครบเงื่อนไขตามกฎหมายประเภทที่เจ้าหนี้จะต้องเตือนลูกหนี้จึงจะผิดนัดให้แก่เจ้าหนี้ 2 กรณีคือ
1 มีที่กำหนดเวลาชำระหนี้ไม่ใช่ตามวันแห่งปฏิทิน
2 หนี้ที่ไม่มีกำหนดชำระหนี้
1 หนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระมิใช่ตามวันแห่งปฏิทิน ในมาตรา 204 วรรคแรกบัญญัติว่า "ธานีถึงกำหนดชำระแล้วและภายหลังแต่นั้นเจ้าหนี้ได้ให้คำเตือนลูกหนี้แล้วลูกหนี้ยังไม่ชำระไซร้ ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดพ่อเขาเตือนแล้ว" มีประเพณีเป็นหนี้ที่มีกำหนดชำระมิใช่ตามวันแห่งปฏิทินเช่นกำหนดชำระหนี้เมื่อเกี่ยวข้าวเสร็จเมื่อสิ้นฤดูน้ำหลากหรือไม่อาจกำหนดวันที่แน่นอนชัดเจนได้ดังนั้นเมื่อนี่ถึงกำหนดชำระแล้วนี่จึงได้กำหนดให้เจ้าหนี้ต้องให้คำเตือนลูกหนี้ก่อนเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระตามที่เจ้าหนี้เตือนลูกหนี้จึงจะผิดนัดดังนั้นแม้นี่จะถึงกำหนดชำระแล้วและลูกหนี้ยังไม่ชำระหนี้หากเจ้าหนี้ยังไม่เตือนและลูกหนี้ยังไม่ผิดนัด
พรุ่งนี้ผิดนัดด้วยเจ้าหนี้ไม่ต้องเตือน มีทั้งสองประเภทดังกล่าวแล้วลูกหนี้จะผิดนัดได้ก็ต่อเมื่อเจ้าหนี้ได้เตือนให้ลูกหนี้ชำระแล้วแต่หนี้บางประเภทลูกหนี้ผิดนัดโดยเจ้าหนี้ไม่ต้องเตือนเลยหนี้กลุ่มนี้มี 2 ประเภทคือ
1 นี่ที่มีกำหนดชำระตามวันแห่งปฏิทินหรือหนี้ที่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าก่อนการชำระหนี้ซึ่งอาจคำนวณนับได้ตามวันแห่งปฏิทิน
2 นี่ละเมิด
กำหนดชำระหนี้กับการผิดนัด เมื่อได้ศึกษาถึงกำหนดเวลาในการชำระหนี้และการผิดนัดแล้วจะเห็นได้ว่ากำหนดเวลาชำระหนี้ก็ดีการไม่ชำระหนี้ก็ดีการผิดนัดก็ดีมีความเกี่ยวพันกันอย่างมากการไม่ชำระหนี้เป็นข้อเท็จจริงส่วนการผิดนัดเป็นข้อกฎหมายคือเป็นเรื่องของการไม่ชำระหนี้ซึ่งเกิดผลบางประการทางกฎหมายการที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ลูกหนี้อาจยังไม่ผิดนัดก็ได้การผิดนัดบางกรณีต้องมีการกระทำของเจ้าหนี้
กรณีที่ไม่ถือว่าลูกหนี้ผิดนัด ปกติเมื่อถึงกำหนดชำระและเจ้าหนี้ได้ให้คำเตือนลูกหนี้แล้วลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ลูกหนี้ก็ต้องตกเป็นผู้ผิดนัดหรือในกรณีที่ไม่ต้องเตือนเช่นการชำระหนี้ที่กำหนดเวลาไว้ตามวันแห่งปฏิทินเมื่อถึงกำหนดแล้วลูกหนี้ไม่ชำระลูกหนี้ก็ตกเป็นผู้ผิดนัดแต่ในบางกรณีการที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้นั้นไม่ใช่ความผิดของลูกหนี้จะให้ลูกหนี้ต้องรับผิดก็ไม่เป็นธรรมแก่ลูกหนี้กฎหมายจึงได้บัญญัติเป็นข้อยกเว้นไว้ไม่ให้ถือว่าลูกหนี้ผิดนัดถ้าการที่ยังไม่ชำระหนี้นั้นไม่ใช่ความผิดของลูกหนี้ดั่งบัญญัติไว้ในมาตรา 204 ว่า"ตราบใดการชำระหนี้นั้นยังมิได้กระทำลงเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบตราบนั้นลูกหนี้ยังหาได้ชื่อว่าผิดนัดไม่"
1 เป็นเหตุที่เกิดจากเจ้าหนี้เอง การที่ลูกหนี้ยังไม่ชำระหนี้นั้นหากเกิดเพราะเจ้าหนี้จะต้องรับผิดแล้วก็ถือเป็นพฤติการณ์ที่ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดเหตุที่เจ้าหนี้จะต้องรับผิดนั้นอาจมีสาเหตุด้วยกันเช่นกรณีเจ้าหนี้ผิดนัดและกรณีที่เจ้าหนี้ต้องรับผิดด้วยเหตุอื่นอีก
2 เหตุเกิดจากบุคคลภายนอกบางครั้งการชำระหนี้ยังไม่ได้กระทำลงนั้นเป็นพฤติการณ์ที่โทษลูกหนี้ไม่ได้เพราะเป็นเหตุเกิดจากบุคคลภายนอกซึ่งเป็นเรื่องนอกอำนาจของลูกหนี้ที่จะป้องกันได้เช่นตกลงกันทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินโดยตกลงกันว่าลูกหนี้จะรังวัดแบ่งแยกที่ดินที่จะซื้อขายและไปโอนให้แก่ผู้ซื้อภายในเวลาที่กำหนดปรากฏว่าลูกหนี้ได้พยายามดำเนินการเพื่อล้างวัดแบ่งแยกที่ดินตามสัญญาด้วยความสามารถแล้วแต่รังวัดแบ่งแยกไม่สำเร็จเพราะเจ้าพนักงานที่ดินไม่อาจดำเนินการได้ทันถือว่าลูกหนี้ไม่ผิดนัด(ฎีกาที่ 1843/2525) แต่ถ้าแม้เหตุจะเกิดจากบุคคลภายนอกแต่ลูกหนี้ก็มีส่วนผิด
หน้าที่ในการชำระหนี้
หน้าที่ในการชำระหนี้ เมื่อมีหนี้แล้วลูกหนี้ก็มีหน้าที่ที่ต้องชำระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์แห่งหนี้นั้นดังที่มาตรา 215 บัญญัติไว้ว่า "เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ให้ตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลเหตุไซส์เจ้าหนี้เรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแต่การนั้นก็ได้" แสดงว่าการชำระหนี้ของลูกหนี้ต้องชำระให้ตามความประสงค์แห่งหนี้ความประสงค์แห่งนี้นั้นย่อมรวมหมดทุกอย่างที่ลูกหนี้จะต้องปฏิบัติการในการชำระหนี้นั้นรวมถึงเงื่อนไขเงื่อนเวลาในการชำระหนี้ด้วย
1 วัตถุแห่งหนี้
วัตถุแห่งนี้มองทางด้านลูกหนี้คือสิ่งที่ลูกหนี้จะต้องดำเนินการในการปฏิบัติการชำระหนี้ตามมาตรา 208 ถ้าหากมองจากฝ่ายเจ้าหนี้ก็คือสิ่งที่เจ้าหนี้เรียกร้องจากลูกหนี้ได้ วัตถุแห่งนี้ที่แบ่งออกเป็น 3 อย่าง 1 นี่การกระทำการ เป็นหนี้ที่ลูกหนี้จะต้องกระทำอย่างใดอย่าหนึ่งหรือหลายอย่างแก่เจ้าหนี้
2 นี่งดเว้นกระทำการ วัตถุแห่งหนี้นั้นอาจกำหนดให้ลูกหนี้ต้องไม่กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่กำหนดไว้ก็ตามในมาตรา 213 วรรค 3 วิธีการบังคับหนี้บัญญัติไว้ว่า "ส่วนนี้ซึ่งมีวัตถุเป็นอันจะให้งดเวรกันอันใดเจ้าหนี้จะเรียกร้องให้รื้อถอนการที่ได้กระทำลงแล้วนั้นโดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่ายและให้จัดการอันควรเพื่อการภายหน้าด้วยก็ได้"
3 นี่ส่งมอบทรัพย์ วัตถุแห่งหนี้เป็นการส่งมอบทรัพย์สินนั้นหมายถึงมีที่ลูกหนี้มีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินให้แก่เจ้าหนี้
2 วัตถุแห่งนี้กับวัตถุที่ประสงค์แห่งนิติกรรม วัตถุแห่งนี้กับวัตถุประสงค์แห่งนิติกรรมอาจมีความใกล้เคียงกันเช่นทำสัญญาซื้อขายม้า 1 ตัววัตถุประสงค์ของนิติกรรมคือการโอนกรรมสิทธิ์ในตัวม้าจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อในขณะที่เมื่อนิติกรรมการซื้อขายเกิดขึ้นแล้ววัตถุแห่งหนี้ในเรื่องนี้ก็คือการส่งมอบมาให้แก่ผู้ซื้อและผู้ซื้อมีนี่ที่มีวัตถุแห่งหนี้เป็นการส่งมอบ(เงิน)
3 ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ คำว่าทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งนี้มีบัญญัติไว้ในมาตรา 195 ว่า "เมื่อทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งนี้นั้นได้ระบุไว้แต่เพียงเป็นประเภทและถ้าตามสภาพแห่งนิติกรรมหรือตามเจตนาของคู่กรณีไม่อาจกำหนดได้ว่าทรัพย์นั้นจะผึ้งเป็นชนิดอย่างไรไซร้ ท่านว่าลูกหนี้จะต้องส่งมอบทรัพย์สินชนิดปานกลางถ้าลูกหนี้ได้กระทำการอันตนจะพึงต้องทำเพื่อส่งมอบทรัพย์นั้นทุกประการแล้วก็ดีหรือลูกหนี้ได้เลือกกำหนดทรัพย์ที่จะส่งมอบแล้วด้วยความยินยอมของเจ้าหนี้ก็ดีท่านว่าทรัพย์นั้นจึงเป็นวัตถุแห่งหนี้จำเดิมแต่เวลานั้นไป"
-