Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา PIH, นางสาวบุศกร ชุ่มจิตร ปี 4 รุ่น 37 เลขที่ 42 62111301044 -…
กรณีศึกษา PIH
แผนการรักษาที่ได้
-
-
หลังจากนั้น 50% MgSO4 10 gm ผสมใน 5% D/W 1,000 ml IV drip rate 100 ml/hr
Oxytocin 20 U ผสมใน 5% D/N/2 1,000 ml IV drip rate 40 ml/hr
-
-
-
-
-
ข้อมูลทั่วไป
แรกรับ
-
-
การวินิจฉัยครั้งแรก G1P0, preterm with severe pre- eclampsia
การคลอด
-
การคลอด/การผ่าตัด G1P1, Caesarean section c severe pre- eclampsia c fetal distress
การวินิจฉัยครั้งสุดท้าย G1P1, severe pre - eclampsia c preterm c Birth asphysia
ข้อมูลทารก
แรกเกิด
เพศบุตร หญิง น้ำหนัก 2,200 กรัม
-
ข้อวินิจฉัยทาง
การพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะชักในระยะช่วงก่อนคลอด เนื่องจากภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ชนิด Severe pre- eclampsia
-
-
-
-
PIH
จากกรณี
หญิงตั้งครรภ์รายนี้เป็น PIH ระหว่างการตั้งครรภ์ เนื่องจากค่าความดันโลหิต Systolic มากกว่า 140 mmHg และความดันโลหิตปรอท Diastolic มากกว่า 90 mmHg และพบตอนอายุครรภ์เกิน 20 สัปดาห์
ชนิด
รายนี้เป็น PIH ชนิด Severe Pre-Eclampsia เนื่องจากทฤษฎีภาวะ PIH คือ ภาวะความดันโลหิตสูงที่จําเพาะกับการตั้งครรภ์ (Pregnancy-induced hypertension; PIH) ร่วมกับมีความผิดปกติของร่ายกายในหลายระบบ (multisystem involvement)
ผลกระทบของ PIH
มารดา
- เพิ่มอัตราการเสียชีวิต เนื่องจากมีภาวะ Shock เลือดออกง่ายหยุดยาก
- เกิดอันตรายและภาวะแทรกซ้อนจากการชัก
- ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive heart failure)
- ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Severe Preeclampsia อาจเกิดภาวะ HELLP syndrome
- ภาวะไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure)
- การกลับเป็นความดันโลหิตสูงซ้ำอีกในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ทารก
- แท้ง (Spontaneous abortion)
- คลอดก่อนกำหนด (Preterm labor)
- ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (Death Fetus in Utero)
- ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์(Intrauterine growth restriction : IUGR)
- ทารกที่คลอดมาอาจมีภาวะแทรกซ้อน
การคลอดผิดปกติ
ในรายนี้
วินิจฉัยแรก ทารกอยู่ในภาวะ fetal distress การตรวจครรภ์ ระดับยอดมดลูก 3⁄4 > สะดือ ROA
อัตราการเต้นของ หัวใจ 158 ครั้ง/นาทีมดลูกหดรัด ตัว Interval ทุก5 นาที uration 30 วินาทีSeverity +1
ข้อบ่งชี้ผ่าคลอด
-
- ทารกอยู่ในภาวะเครียด (fetal distress)
-
-
- กระดูกเขิงกรานหัก หรือความผิดปกติของ ช่องทางคลอด
-
ภาวะ HELLP ในรายนี้
รายนี้มีค่า AST (SGOT) และ ALT (SGPT) ซึ่งสูงกว่าปกติ จึงอาจทำให้เกิดภาวะ HELLP Syndrome บางส่วน หรือที่เรียกว่า Partial HELLP Syndrome
-