Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Malaria ไข้มาลาเรีย - Coggle Diagram
Malaria ไข้มาลาเรีย
- โรคมาลาเรียเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อพลาสโมเดียม (Plasmodium) ซึ่งเป็นปรสิตเซลล์เดียวใน Class Sporozoa Genus Plasmodium มีทั้งหมดสี่ชนิด คือ
- พลาสโมเดียม ฟัลซิปารัม (Plasmodium falciparum)
- พลาสโมเดียม ไวแวกซ์(Plasmodium vivax)
- พลาสโมเดียม มาลาริอี(Plasmodium malariae)
- พลาสโมเดียม โอวาเล่(Plasmodium ovale)
- พลาสโมเดียม โนวไซ (Plasmodium knowlesi)
- โดยเชื้อทั้ง 5 ชนิดนี้มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ
การวินิจฉัย
-
- ผลแล็บ Thick film, Thin film (ควรตรวจคู่กัน)
- การตรวจ Antigen, Antibody
- การใช้ชุดตรวจอย่างเร็ว (Rapid test) (ส่วนใหญ่ยังใช้หา P. knowlesi ไม่ได้)
- การตรวจผลทางชิ้นส่วนพันธุกรรม PCR
-
-
-
การติดต่อของไข้มาลาเรีย
- โดยถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียในต่อมน้ำลายกัด และปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดคน เป็นวิธีธรรมชาติที่พบได้มากที่สุด
- ติดต่อจากมารดาซึ่งมีเชื้อมาลาเรียในร่างกายและถ่ายทอดทางรกไปสู่ทารกในครรภ์ วิธีนี้พบได้น้อยมากมักพบได้ในท้องที่ที่มีมาลาเรียชุกชุม กรณีเช่นนี้จะพบระยะฟักตัวสั้นกว่าวิธียุงกัดทารกแรกเกิดและมารดาจะมีเชื้อมาลาเรียชนิดเดียวกัน
- ติดต่อโดยวิธีการถ่ายเลือด จะพบในรายที่ผู้บริจาคโลหิตมีความหนาแน่นของเชื้อมาลาเรียในกระแสโลหิตต่ำและไม่มีอาการ หากไม่ได้ทำการตรวจโลหิตหาเชื้อมาลาเรียก่อน ผู้ป่วยที่รับการถ่ายเลือดจะป่วยเป็นมาลาเรียได
แนวคิดในการใช้ยารักษา
- ปรับยาตามน้ำหนักตัวของผู้ป่ วยอย่างเหมาะสม รายที่ผิดปกติให้ใช้ ideal body weight (ไม่เกิน 80 กก.)
- ซักประวัติและ/หรือตรวจภาวะ G-6-PD deficiency
ในรายที่เป็น P. vivax หรือ P. ovale ทุกราย ก่อนให้ยา
Primaquine
- หญิงมีครรภ์ ไม่ใช้ยา Primaquine
ยุงพาหะ
-
- ยุงพาหะรอง (secondary vectors)
- ยุงก้นปล่องชนิดซันไดคัส (Anopheles sundaicus)
- เป็นพาหะมาลาเรียใน ท้องที่ชายทะเลและเกาะแก่งทางภาคตะวันออกและภาคใต้ ชอบกัดคนนอกบ้านและเพาะพันธุ์ ในแอ่งหินซึ่งมีน้ำกร่อยตามริมทะเล นากุ้งที่เลิกใช้ เกาะแก่งต่างๆ
- ยุงก้นปล่องชนิดอโคไนตัส (Anopheles aconitus)
- พบได้ทั่วไปในท้องที่ป่าเขา และที่ราบทุ่งนาทั่วประเทศ เพาะพันธุ์ในลำธารน้ำไหล น้ำซับ น้ำซึม และทุ่งนา มีนิสัยชอบกัด สัตว์และกัดนอกบ้าน ชุกชุมสูงในช่วงฤดูฝน
- ยุงก้นปล่องชนิดซูโดวิวโมไร (Anopheles pseudowillmori)
- เป็นยุงที่พบอยู่ตามบริเวณป่าเขาตอนเหนือของประเทศ ลักษณะนิสัยคล้ายยุงก้นปล่องชนิดมินิมัส
-
-
การป้องกัน
มาตรการต่อยุง
-
- การสวมเสื้อผ้าปกปิดร่างกายให้มิดชิด เช่น ใช้เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว
-
-
-
อาการ
- ระยะฟักตัวในผู้ป่วย (incubation period) โดยเฉลี่ยแล้วใช้เวลา 10-14 วัน ดังนี้ โดยการจับไข้มีความแตกต่างกันแล้วแต่ชนิดของเชื้อ เช่น เชื้อฟัลซิปารัม (P. falciparum)จับไข้ทุก 36-48 ชั่วโมง เชื้อไวแวกซ์(P. vivax) และ โอวาเล่(P. ovale)จับไข้ทุก 48 ชั่วโมงหรือจับวันเว้นวัน ส่วนมาลาริอี(P. malariae)จับไข้ทุก 72ชั่วโมงหรือวันเว้นสองวัน
-