Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมุนไพรแก้ท้องผูก, : : - Coggle Diagram
สมุนไพรแก้ท้องผูก
ชุมเห็ดเทศ
วิธีการใช้
อาการท้องผูก ใช้ใบจำนวน 12-15 ใบย่อย ตากแห้ง คั่ว (หากไม่คั่วเสียก่อน จะเกิดอาการข้างเคียง คืออาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เมื่อคั่วความร้อนจะช่วยให้สารที่ออกฤทธิ์ทำให้คลื่นไส้อาเจียนสลายไป) แล้วนำไปต้มกับน้ำพอควร ดื่มครั้งเดียวก่อนอาหารตอนเช้ามืด หรือก่อนนอน หรือใช้ผงใบ 3-6 กรัม ชงน้ำเดือด 120 มิลลิลิตร เป็นเวลา 10 นาที ดื่มก่อนนอน อาจทำเป็นยาลูกกลอนก็ได้
ประโยชน์
-
ใบ
รักษากษัยเส้น ขับปัสสาวะและรักษากระเพาะอาหารอักเสบ บดผสมกระเทียมหรือน้ำปูนใสทาแก้กลาก เกลื้อน โรคผิวหนัง ฝีและแผลพุพอง
-
ลักษณะทั่วไป
ไม้พุ่ม ขนาดกลาง สูงประมาณ 2 – 3 เมตร แตกกิ่งก้านน้อน เปลือกต้นเรียบ สีน้ำตาล ก้านใบยาว ในก้านหนึ่งนั้นจะมีใบแตกออกเป็น 2 ทาง ลักษณะคล้ายกับใบมะยมแต่ละโตและยาวกว่าประมาณ 10 - 12 ซม. และกว้างประมาณ 3 - 6 ซม.
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก มีความยาวประมาณ 30 - 60 ซม. ลักษณะใบรูปไข่ขอบขนาน ปลายใบมนหรือเว้าเล็กน้อย โคนใบเบี้ยว ฐานใบมน และไม่เท่ากันทั้ง 2 ข้าง ขอบใบเรียบ สีแดง ใบจะมีความกว้างประมาณ 5 - 7 ซม. และยาวประมาณ 5 - 15 ซม. ก้านใบแข็ง ตั้งฉากกับกิ่ง ใบย่อยเรียงตัวเป็นคู่ๆ 8 – 20 คู่ และอยู่ในระนาบเดียวกัน ก้านใบย่อยสั้นมาก
ข้อควรระวัง
2.ควรใช้ยาระบายเป็นครั้งคราว ไม่ควรใช้ติดต่อกัน เพราะสารแอนทราควิโนนในใบชุมเห็ดเทศ มีฤทธิ์ทำให้ลำไส้บีบตัวและเคลื่อนไหวเร็ว ใช้ติดต่อนานจะทำให้ลำไส้ชิน
1.ระมัดระวังการใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี ผู้ป่วย inflammatory bowel disease และภาวะทางเดินอาหารอุดตัน ผู้สูงอายุ หญิงให้นมบุตร เนื่องจากสาร metabolite บางตัวเช่น rhein ถูกคัดหลั่งทางน้ำนม
มะขามแขก
-
-
-
ชื่อที่ใช้เรียกมะขามเเขก
-
-
-
-
-
-
-
Indiad senna, Tinnevelly senna.
จำปา
-
ลักษณะทั่วไปของจำปา
ลักษณะทั่วไปของจำปานั้น คล้ายคลึงกับจำปีมาก จะมีรายละเอียดต่างกันไม่มากนัก เช่น ใบจำปีจะเขียวเข้มและเป็นมันกว่าใบจำปา ดอกจำปามีกลีบใหญ่และยาวแต่บางกว่ากลีบดอกจำปี และสีกลีบดอกจำปามีสีเหลืองอมส้ม เป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนดอกจำปี
ถิ่นกำเนิดจำปา
-
ชื่ออื่นๆ/ชื่อท้องถิ่น จุ๋มป๋า , จุมปา (ภาคเหนือ) , จำปากอ (ภาคใต้) , จำปาป่า (สุราษฎร์ธานี) , จำปาทอง (นครศรีธรรมราช)
-
สรรพคุณ
ปรุงเป็นยาหอม บำรุงหัวใจ บำรุงโลหิต บำรุงประสาท บำรุงน้ำดี แก้คลื่นไส้ อาเจียน แก้ไข้ ขับปัสสาวะ ทำให้เลือดเย็น แก้เส้นกระตุก ช่วยบำรุงโลหิต รากต้มกับน้ำดื่มช่วยขับโลหิตในสตรีที่อยู่ไฟ และใช้รักษาโรคปวดตามข้อ ใช้เป็นยาถ่าย เปลือกต้นต้มกับน้ำดื่ม ใช้แก้ไข้ แก้เสมหะในลำคอ
สมอไทย
-
ลักษณะทั่วไป
ลำต้น
สูง 20-30 เมตร เรือนยอดกลมกว้าง เปลือกต้นขรุขระ สีเทาอมดำ แตกเป็นสะเก็ดห่างๆ ยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลหนาแน่น
ใบ
เดี่ยว เรียงตรง รูปไข่ กว้าง 5-10 ซม. ยาว 11-18 ซม.ปลายใบมนหรือเป็นติ่งแหลม โคนกลม ขอบเรียบ แผ่นใบเหนียวคล้ายแผ่นหนัง ผิวด้านบนเป็นเงามันมีขนเล็กน้อย ก้านใบยาว 1.5-3 ซม. มีขนคล้ายไหม มีต่อม 1 คู่ ใกล้โคนใบ
เมล็ด
ออกเป็นช่อคล้ายช่อเชิงลดหรือช่อแยกแขนง มี 3-5 ช่อ สีขาวอมเหลือง มีกลิ่นอ่อนๆ ออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาว 5-8.5 ซม. ไม่มีก้านช่อดอก หรือก้านช่อดอกสั้น แกนกลางสั้นและเปราะ มีขนสั้นนุ่ม
ผล
แบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีหรือเกือบกลม กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 2.5-3.5 ซม. ผิวเกลี้ยง เมื่อแก่สีเขียวอมเหลือง หรือสีเขียวปนน้ำตาลแดง
-
-
แมงลัก
ที่มาของแมงลัก
แมงลัก เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่งที่อยู่ Labiatae มีลักษณะคล้ายกับกระเพราและโหระพาเนื่องจากเป็นพืชสกุลเดียว มีน้ำมันหอยระเหยจำนวนมาก จึงมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว มีถิ่นกำเนิดบริเวณพื้นที่เขตร้อนในทวีปเอเชีย
-
-
ขี้เหล็ก
-
-
ถิ่นกำเนิดขี้เหล็ก
ขี้เหล็ก มีชื่อเรียกในทางพฤกษศาสตร์ว่า Cassia Siamese Lamk. ซึ่งคำว่า Siamese ที่เป็นชื่อชนิดของของขี้เหล็กนั้น มาจากคำว่า Siam หรือสยาม
ส้มเเขก
ลักษณะของส้มแขก
ส้มแขก (Garcinia) มีถิ่นกำเนิดใน อินเดีย ศรีลังกา และพบได้ทั่วไปในป่าประเภทร้อนชื้นในประเทศไทย และยังเป็นพืชพื้นบ้านดั้งเดิมของไทย พบมากทางภาค
ที่มาของส้มแขก
มีถิ่นกำเนิดใน อินเดีย ศรีลังกา และพบได้ทั่วไปในป่ประเภทร้อนชื้นในประเทศไทย และยังเป็นพืชพื้นบ้านดั้งเดิมของไทย พบมากทางภาคใต้ โดยเฉพาะ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส ลงไปถึงสิงคโปร์ ส้มแขกเป็นเพราะอาหารอินเดีย และมาเลเซียหลายชนิด เช่น แกงกะหรี่ แกงมัสมั่น จะใช้ส้มแขกประกอบอาหารแทนมะขามเปียก ก็เลยเรียกติดปากกันว่าส้มแขก
-
ใบมะรุม
ข้อควรระวัง
-
2.สตรีมีครรภ์ควรระมัดระวังการรับประทาน อาจเกิดการสะสมของสารบางอย่าง ซึ่งอาจเป็นพิษและทำให้เกิดการแท้งได้
-
สรรพคุณ
ใบมะรุมมีใยอาหารสูง อีกทั้งยังพกคุณค่าทางสารอาหารอื่นๆ มะรุมจึงเป็นยาระบายจากธรรมชาติ และช่วยบำรุงระบบย่อยอาหาร
ผักกาดขาว
ลักษณะของผักกาดขาว
-
ใบ :ใบยาว 20-90 เซนติเมตร กว้าง 15-35 เซนติเมตร รูปร่างของใบเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาของการเจริญเติบโต
ดอก : ดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบยาว 0.5 เซนติเมตรสีเขียวปนเหลือง กลีบดอกสีเหลืองสดจำนวน 4 กลีบ ยาว 1 เซนติเมตร กว้าง 0.5 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู้ 6 อัน สั้น 2 อัน ยาว 4 อัน เกสรเพศเมีย 2 อัน มีรังไข่เชื่อมติดกัน
ผล : ผลแตกแบบผักกาด ยาว 7 เซนติเมตร กว้าง 3-5 มิลลิเมตร ผิวเรียบ ส่วนปลายผลอ้วนสั้น มี 10-25 เมล็ด เมล็ดกลมจนถึงรูปไข่ สีเทาดำจนถึงสีน้ำตาลแดง เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 มิลลิเมตร
-
-
-