Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Large Lower anterior abdominal wall mass
ก้อนที่ผนังหน้าท้องด้านล่างขนาดใ…
Large Lower anterior abdominal wall mass
ก้อนที่ผนังหน้าท้องด้านล่างขนาดใหญ่
อาการและอาการเเสดง
ของผู้ป่วย
- ท้องบวมโตผิดปกติ มีก้อนขนาดใหญ่
- ท้องอืด ไม่สบายท้อง ไม่ถ่าย
-
-
ตามฤษฏี
ผู้ที่มีก้อนในช่องท้องมักมีอาการแสดงดีงนี้
-ท้องบวมผิดปกติ
-ปวดในท้อง
-อืดท้อง
-คลื่นไส้ อาเจียน
-น้ำหนักลดไม่ทราบสาเหตุ
-ปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ออก
-เป็นไข้
ก้อนในช่องท้องมีทั้งแบบแข็ง หรือแบบนิ่ม กดแล้วเคลื่อนที่ได้ หากก้อนที่ช่องท้องไปกดทับอวัยวะข้างเคียงก็อาจทำให้อวัยวะเสียหายและบาดเจ็บ ในกรณีนี้อาจต้องผ่าตัดก้อนดังกล่าวออกให้เร็วที่สุด หากมีก้อนหลายก้อนเกิดขึ้นในช่องท้อง อาจต้องใช้วิธีการรักษาหลายอย่างร่วมกันหรือเข้ารับการผ่าตัดเพื่อกำจัดก้อนดังกล่าว
พยาธิสภาะ
ก้อนในช่องท้อง สามารถทำให้เกิดอาการบวมที่มองเห็นได้อย่างชัดเจน และอาจทำให้ท้องมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไป ผู้ป่วยที่มีก้อนในท้องอาจสังเกตได้ว่าตนเองมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น และมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ไม่สบายท้อง ปวดท้อง และท้องอืด ก้อนในท้องถูกแบ่งเป็นชนิดต่างๆ ตามตำแหน่งในทางการแพทย์ ซึ่งก็คือ ด้านบนขวา ด้านบนซ้าย ด้านล่างขวา และด้านล่างซ้าย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 42 ปี รูปร่างอ้วน นอนอยู่เตียง 10 ปฏิเสธโรคประจำตัว มาด้วยอาการ มีก้อนบวมโตบริเวณหน้าท้อง รู้สึกก้อนบวมโตบริเวณท้อง โตขึ้นเรื่อยๆ ไม่สบายท้อง คันท้อง เวลาเดินจะหน่วงๆท้อง กินแล้วมีอาเจียนปวดท้อง และท้องอืด ไม่ถ่าย
การวินิจฉัยโรคแรกรับ
การวินิจฉัยแรกรับ : Large Lower anterior abdominal wall mass มีก้อนขนาดใหญ่บริเวณหน้าท้องส่วนล่าง
การวินิจฉัยโรคสุดท้าย : Large Lower anterior abdominal wall mass มีก้อนขนาดใหญ่บริเวณหน้าท้องส่วนล่าง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
-
เกณฑ์การประเมิน
- มีมีอาการอ่อนเพลีย
- เสมหะในลพคอลดลง
3.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ T= 36.5-37.4 c PR =60-100 bpm BP=90/60-140-90 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
- จัดทํานอนศีรษะสูง 30 – 40 องศา ช่วยทําให้กระบังลมหย่อนตัว ปอดขยายตัวเต็มที่
- สอนวิธีการอให้ถูกวิธีเช่นให้ผู้ป่วยกดบริเวรแผลผ่าตัดแล้วค่อยแบ่งลมหายใจออกทั้งหมดเป็น 3-4 คำ ทำให้กระเทือนแผลน้อยกว่าและเจ็บน้อย
- วัดและบันทึกอัตราการหายใจ ความอิ่มตัวออกซิเจนในหลอดเลือดแดงปลายนิ้ว
- กระตุ้นให้หายใจเข้า – ออก ลึกๆ และไออย่างมีประสิทธิภาพ
-
- ปวดบริเวณแผลผ่าตัดที่หน้าท้อง
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบอกว่าปวดบริเวณแผลผ่าตัด Pain Score = 7 คะแนน
OD : ผู้ป่วยมีสีหน้า หน้านิ่ว คิ้วขมวด ปวดบริเวณแผลผ่าตัด
BP = 130/78 BT = 37.0 PR = 118 RR = 20
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินพฤติกรรมการแสดงความ เจ็บปวดของผู้ป่วย และ Pain score ตรวจ บันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
- จัดท่านอน Fowler's position โดยไข หัวเตียงสูง 45-60 องศ ให้กล้ามเนื้อ หน้าท้องมีการหย่อนตัว ลดอาการเจ็บตึง แผล
- สร้างสัมพันธภาพที่ ดีกับผู้ป่วยและญาติ เปิดโอกาสให้ชักถามข้อสงสัยและระบาย ความรู้สึกต่างๆรวมทั้งให้ความรู้แก่ผู้ป่วย และญาติ เกี่ยวกับการปฏิบัติตามความ เหมาะสม
- ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล แสดง ท่าที่ที่เป็นกันเอง เห็นอกเห็นใจผู้ป่วย ดูแล ด้านจิตใจโดยการพูดคุยปลอบโยนให้ กําลังใจ สัมผัส เอาใจใส่อย่างใกล้ชิด และอธิบายให้ผู้ป่วยทราบเกี่ยวกับระยะเวลาใน การเจ็บปวด แผลผ่าตัดจะปวดมากกว่าเป็น เวลา 3 วันแรกหลังผ่าตัด
- จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบเท่าที่สามารถ ทําได้ เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและสุข สบายขึ้นสามารถพักผ่อนได้เต็มที่
- แนะนําวิธีการพลิกตะแคงตัวหรือเปลี่ยน อิริยาบท โดยใช้มือ 2 ข้างประคองบริเวณ แผลผ่าตัดเพื่อช่วยลดภาวะการเกร็ง กล้ามเนื้อหน้าท้อง และช่วยลดการ สั่นสะเทือนของแผลผ่าตัดจะทําให้อาการ ปวดแผลลดลง ขณะเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยน ท่านอน ให้ทําด้วยความระมัดระวัง
- สอนการไออย่างถูกวิชี โดยใช้มือประคอง แผลผ่าตัดและหายใจเข้าลึก ๆ ข้า ๆ ผ่าน ทางจมูกและหายใจ
ออกช้ำๆ ผ่านทางปาก จํานวน 5 ครั้ง ในขณะหายใจเข้าครั้ง สุดท้ายให้ผู้ป่วยอ้าปาก และไอออกมา จากส่วนลึกของลําคอ 1-2 ครั้ง เป็นการช่วย ขับเสมหะออกมาและลด กรสั่นสะเทือนของ บาดแผลใช้มือประคองแผลทุกครั้ง
-
-
- มีภาวะท้องอืด แน่นท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลําไส้ลดลงหลังผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการท้องอืด ไม่ถ่ายเป็นเวลา 3 วัน
OD : ผู้ป่วยท้องแข็งตึงเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง
-
เกณฑ์การประเมิน
- ไม่มีอาการท้องอืดแน่นท้อง
- ขับถ่ายอุจจาระได้ทุกวัน กดท้องนิ่ม
กิจกรรมการพยาบาล
- อธิบายความสําคัญของการเคลื่อนไหวรางกายหลังผาตัด
- ประเมินการถ่ายอุจจาระทุกวัน
- กระตุนและชวยพลิกตะแคงตัวเปลี่ยนทานอน ทํากิจกรรมต่างๆ ดวยตนเองเร็วที่สุด
- ฟงเสียงการเคลื่อนไหวของลําไส สอบถามอาการทองอืด แนนทอง เรอ หรือผายลม
- สังเกต บันทึกลักษณะ และระยะเวลาในการขับถ่าย
-
- มีแบบแผนการนอนหลับถูกรบกวนเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
-
-
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยนอนหลับได้ต่อเนื่อง 6-8 ชั่วโมง มีความสุขสบายขึ้น
-ไม่มีอาการที่บ่งชี้ว่านอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เช่น หาวบ่อยอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ มึนงง
กิจกรรมการพยาบาล
- รับฟังปัญหาของผู้ป่วยเปิดโอกาศให้ผู้ป่วยได้ระบาย
- ใหการพยาบาลโดยไมรบกวนผูปวยบอยเกินไป ขณะนอนหลับ
- จัดสิ่งแวดลอมใหเงียบสงบรู้สึกผอนคลายและลดปจจัยที่ทําใหนอนไมหลับ
- แนะนำให้ผู้ป่วยปฏิบัติในสิ่งที่จะช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้นก่อนนอนเช่น อ่านหนังสือ หรือสวดมนต์เป็นต้น
- แนะนำให้หลียกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาแฟอีน โดยเฉพาะมื้อเย็น เช่น กาแฟ น้ำชาช็อกโกแลต
-
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Chemistry
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ 01/08/65
BUN=6mg/dLต่ำ
CKD Stage=1สูง
Potassium=3.1mmol/Lต่ำ
Protein=5.5g/dLต่ำ
Albumin=1.9g/dLต่ำ
Globulin=3.6g/dLสูง
Corrected calium=9.0mg/dLสูง
alcium=7.3mg/dLสูง
Magnesium=1.6mg/dLต่ำ
CBC
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัตรงาน 01/08/65 WBC
WBC= 9,920cell/uLปกติ
RBC=3.71M/uL ต่ำ
HGB=7.6g/dL ต่ำ
HCT=27.6%ต่ำ
MCV=74.4fLต่ำ
MCH=20.5pgต่ำ
MCHC=27.5g/dLต่ำ
RDW=18.9% สูง
PLT Count=763,000K/uLสูง
Neutrophil=72.2%Lปกติ
Lymphocyte=17.9%Lต่ำ
การรักษา
- การรักษาก้อนในช่องท้องจะขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการขึ้น หากผู้ป่วยมีถุงน้ำในช่องท้องขนาดใหญ่ หรือมีอาการเจ็บปวดมาก แพทย์อาจเลือกที่จะกำจัดถุงน้ำดังกล่าวผ่านการผ่าตัด แต่ถ้าการผ่าตัดเป็นอันตราย ศัลยแพทย์อาจใช้วิธีการลดขนาดก้อนดังกล่าวแทน
- การทำเคมีบำบัดหรือรังสีรักษาอาจถูกนำมาใช้เพื่อลดขนาดก้อนในท้องให้เล็กลง หากก้อนมีขนาดเล็กลงแล้ว แพทย์ก็อาจจะเอาก้อนดังกล่าวออกด้วยการผ่าตัด แต่ทางเลือกนี้มักใช้ในผู้ป่วยที่มีก้อนเนื้อมะเร็ง
- หากก้อนในท้องเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน เช่น ถุงน้ำรังไข่ สามารถรักษาได้โดยการบำบัดด้วยฮอร์โมนทดแทน (Hormone Replacement Therapy) หรือการได้รับยาคุมกำเนิดในปริมาณต่ำ
-
ผู้ป่วยหญิงไทย อยุ42 ปี รูปร่างอ้วน เชื้อชาติไทยสัญชาติไทย พูดคุยรู้เรื่อง ถามตอบได้ ปวดแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง Pain score = 7 คะแนน on cannula ไม่สามารถเดินไปเข้าห้องน้ำเองได้ คนไข้ใส่สายสวนปัสสาวะ
-
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present illness (PI) )
5เดือนก่อนมา รู้สึกก้อนบวมโตบริเวณท้อง ท้องโตขึ้นเรื่อยไ คันที่ท้อง เวลาเดินจะหน่วงๆท้อง กินแล้วมีอาเจียน
-
-
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ไม่พบประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
การทำหัตถการ
Expbratory laparotomy เป็นการผ่าตัดเปิดช่องท้องเพื่อค้นหาและแก้ไขพยาธิสภาพของอวัยวะภายในช่องท้องอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุและรอยโรค
การผ่าตัด
Carcinoma in situ (CIS) ( เป็นการผ่าตัดมะเร็งชนิดที่ไม่แพร่กระจายในระยะแรก หากไม่มีการรักษา เซลล์มะเร็งใน CIS จะแพร่กระจายไปยังเนื้อเยื่อปกติโดยรอบในที่สุด การเคลื่อนตัวของเซลล์มะเร็งเข้าสู่เนื้อเยื่อรอบข้างเรียกว่า การบุกรุก. ) เมื่อ 18 ปีก่อน
-