Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ, 63472453 นางสาวพรนัชชา จิ๋วน้อย sec.3 No.35…
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ Cystitis ; เป็นการอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินปัสสาวะ พบได้ในทุกเพศทุกวัย
แต่ส่วนใหญ่พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
ปัจจัยของการเกิดโรค ; กลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน/ ดื่มน้ำน้อย/ การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์/ พบในเพศหญิงมากกว่าเพราะท่อปัสสาวะสั้นทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย/ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากควบคุมโรคได้ไม่ดีอาจเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
อาการ ; ปัสสาวะบ่อย กะปริดกะปรอย/ ปัสสาวะเป็นเลือด มีสีชมพู/ ปัสสาวะขุ่น บางครั้งมีกลิ่นผิดปกติ/ มีสารคัดหลั่งบริเวณอวัยวะเพศ/ รู้สึกปวดบริเวณท้องน้อย ปวดแสบ ขัด/ มีนิ่วในปัสสาวะ
การวินิจฉัย
-ตรวจ CBC พบ WBC > 10000 cell/dL (เกิน 10000 จะพบการติดเชื้อ)
-ตรวจปัสสาวะ (urine analysis : UA) พบสีปัสสาวะขุ่น (turbidity) อาจเป็นตะกอน หนอง/ มี WBC สูง > 5 cell ในปัสสาวะ/ มี RBC พบแบคทีเรียในปัสสาวะ/ ตรวจเพาะเชื้อปัสสาวะ (urine culture) พบเชื้อที่เป็นสาเหตุมากกว่า 105 colony/มล.
การรักษา ; ดื่มน้ำมาก ๆ/ กินยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ยาที่แนะนำคือ Cotrimoxazole ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน หรือ Ofloxacin ขนาด 400 mg ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน/ กินยาแก้ปวดร่วมด้วยได้หากมีอาการปวด
แต่ถ้าไม่ปวดมากไม่แนะนำให้กินเพราะถ้าอาการอักเสบเบาก็จะดีขึ้นเอง
การป้องกัน ; ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อย 6-8 แก้ว/ ควบคุมโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง/ ไม่กลั้นปัสสาวะนาน/ ดูแลสุขภาพอนามัยใฝนร่างกาย
โรคกรวยไตอักเสบ Pyelonephritis ;
เกิดจากการติดเชื้อ E.coli ในระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งมีสาเหตุจากการติดเชื้อส่วนอื่น ๆอยู่แล้ว เช่น มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ, โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ฯ
อาการ ; ปัสสาวะบ่อย, รู้สึกปวดปัสสาวะตลอดเวลา, เจ็บหรือแสบขณะปัสสาวะ/ เจ็บปวดหลังหรือสีข้าง, ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน/ ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น มีสีขุ่น มีหนองหรือเลือดปนมากับปัสสาวะ
การวินิจฉัยโดยการตรวจร่างกาย ;
จะใช้กำปั้นทุบเบา ๆ บริเวณสีข้างมี่ปวด ถ้ารู้สึกเจ็บจนสะดุ้ง มีอาการกดเจ็บของหน้าท้อง ท้องเกร็งแข็งเล็กน้อย ปัสสาวะมีสีขุ่น และอาจตรวจเพิ่มได้อีก ดังนี้
-
-
การตรวจด้วยรังสีวิทยา อาจวินิจฉัยด้วยการ ultrasound หรือ x-ray ระบบทางเดินปัสสาวะ (Voiding Cystourethrogram)
เพื่อตรวจหาซีสต์ เนื้องอก หรือการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ
การรักษา ; รักษาด้วยการจ่ายยาลดไข้และยาปฏิชีวนะ เช่น Amoxicillin 500 mg. ทุก 8 ชม./ Cotrimoxazole 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง/ Ofloxacin 400 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 14 วัน
การป้องกัน ; ดื่มน้ำมาก ๆ , ไม่กลั้นปัสสาวะ, เลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ที่จะทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณอวัยวะเพศหญิง
โรคไตรั่ว
สาเหตุ
โรคไต หรือก็คือไตจะไม่สามารถกรองproteinได้ เนื้อไตหนาหรือแข็งเป็นแท่ง ๆ หรือเกิดการติดเชื้อที่ไต พบบ่อยในเด็ก
-
-
-
ข้อแนะนำในการปฏิบัติตนของผู้ป่วยโรคไตรั่ว ; พักผ่อนให้เพียงพอ งดอาหารหวาน เค็ม ไขมันสูง
เน้นทานผัก ผลไม้และอาหารที่มีแคลเซียม
โรคไตวายเฉียบพลัน ;
ไตสูญเสียหน้าที่ชั่วคราวแค่ไม่กี่ชม.หรือไม่กี่วัน
อาจเกิดจากโรคบางอย่าง เช่น ภาวะช็อค
เมื่อหาสาเหตุพบและแก้ไขได้แล้วจะสามารถกลับมาเป็นปกติได้
อาการ
ปัสสาวะน้อยกว่า 400 cc/day, น้อยกว่าคนปกติ 3 เท่า
-
-
-
ขั้นตอนการรักษา
-
2.รักษาแบบประคับประคองตามอาการ เช่น ควบคุมปริมาณน้ำที่เข้าออกจากร่างกายเพื่อรักษาสมดุล หลีกเลี่ยงยาที่เป็นพิษต่อไต ฯ
-
-
-
โรคไตวายเรื้อรัง ;
เป็นภาวะที่เนื้อไตเกิดการเสื่อมสภาพถาวร
ต้องฟอกเลือด, ล้างไต, ปลูกถ่ายอวัยวะจากผู้บริจาค มักมีสาเหตุจากโรคประจำตัว (เช่น เบาหวาน)
ไม่สาสมารถรักษาให้หายขาดหรือกลับมาเป็นปกติได้
อาการ ; ปัสสาวะน้อยมาก/ เพลีย เหนื่อยหอบ/ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน/ บวมกดบุ๋ม/ คันตามตัวแต่ไม่มีผื่นหรือตุ่มขึ้น/ หมดสติ,เสียชีวิต
5 ระยะของโรคไตเรื้อรัง
-
ระยะที่ 2 GFR 60-90 ไตเริ่มถูกทำลาย อัตราการกรองของไตลดลงเล็กน้อย ในระยะนี้ให้ดื่มน้ำเยอะ ๆ, ไม่กลั้นปัสสาวะ, ใช้ชีวิตได้ตามปกติ
ระยะที่ 3 GFR 30-60 ไตเสื่อม อัตราการกรองของไตลดลงปานกลาง ในระยะนี้ต้องแนะนำสุขศึกษาให้แก่ผู้ป่วยเพื่อให้กลับไประยะที่ 2 และ 1 ให้ได้
-
ระยะที่ 5 GFR <15 ไตวายระยะสุดท้าย ในระยะนี้ต้องฟอกไต, ล้างไตทางช่องท้อง (CAPD) ทำ 3-4 ครั้ง/วัน, ปลูกถ่ายอวัยวะจากผู้ที่บริจาค
**การดื่มน้ำในผู้ป่วยระยะ 3-5 ถ้าไม่มีปัสสาวะให้ดื่มวันละ 3 แก้ว (1 แก้ว = 250 cc)
แต่ถ้ามีปัสสาวะให้ดื่มวันละ 3 แก้ว (1 แก้ว = 250 cc) + ปริมาณปัสสาวะที่ตวงได้
โรคต่อมลูกหมากโต Benign Prostate Hyperplasia (BPH) ; ภาวะที่ต่อมลูกหมากที่อยู่ใต้กระเพาะปัสสาวะใหญ่ผิดปกติ
จนไปบีบท่อปัสสาวะให้แคบลง พบมากในเพศชายอายุ 45 ปีขึ้นไปและโดยเฉาพอายุ 70 ปีขึ้นไปพบมากได้ถึง 80 %
อาการ ; ปัสสาวะบ่อย/ ปัสสาวะแสบร้อนในท่อ/ กลั้นปัสสาวะไม่ได้/ ปัสสาวะกะปริดกะปรอย/ ปัสสาวะไม่พุ่ง/ ปัสสาวะต้องเบ่ง/
รู้สึกปวดหน่วงที่ท้องน้อยต้องใช้มือกดที่ท้องน้อยเพื่อให้ปัสสาวะไหล/ ปัสสาวะมีเลือดออก
การรักษา
การทานยา ; ยากลุ่ม alpha-blocker ช่วยในการคลายการบีบเกร็งของกล้ามเนื้อต่อมลูกหมาก/ ยายับยั้งการสร้างฮอร์โมน ช่วยในการชะลอการโตของต่อมลูกหมาก แต่ถ้าหยุดยาต่อมลูกหมากก็จะกลับมาโตได้อีก
-
-
การประเมินภาวะสุขภาพในทางเดินปัสสาวะ
- ประเมินบริเวณที่ปวด
- ปวดหลังบริเวณ Costovertebral angle (Flank pain) ร่วมกับมีอาการปัสสาวะผิดปกติ เช่น ปัสสาวะแสบขัด ขุ่น แดง กะปริดกะปรอย มักเกิดจากความผิดปกติที่ไตหรือกรวยไตหรือเกิดการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ
- ปวดบริเวณหนือหัวหน่าว (Suprapubic pain) มักเกิดจากความผิดปกติของกระเพาะปัสสาวะ
- ปวดบริเวณ Lower quadrant ร้าวไปถึงขาหนีบ มักเกิดจาการอุดตันของท่อไต
- ประเมินความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะ ; Frequency of urinary ; บ่อยผิดปกติ / Difficult urination ; ลำบาก/ Painful and burning urination ; แสบเวลาถ่ายปัสสาวะ/ Urgency ; กลั้นไม่ได้/
Incontinent ; ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะไม่ได้/ Enuresis ; รดที่นอน/ Retention ; คั่ง/ Pneumoturia ; มีลม
- ประเมินความผิดปกติเกี่ยวกับลักษณะปัสสาวะ ; เป็นเลือด/ เป็นหนอง/ กลิ่นผิดปกติ
- ประเมินความผิดปกติเกี่ยวกับจน.ปัสสาวะ ; Polyuria/ Oliguria/ Anuria
- ประเมินอาการบวม (Edema)
- ประเมินการมีก้อนในท้อง (Mass)
ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
- ความผิดปกติของกลูเมอรร์รูลัส ; Disorder of glomerulus function ; glomerulonephritis, Nephrotic syndrome: NS
- การอุดกลั้นทางเดินปัสสาวะ ; Urinary tract obstruction ; Kidney stone, renal calculi, Nephrolithiasis, Neurogenic bladder
การซักประวัติ
- การรับประทานอาหารและน้ำ ; อาหารหรือเครื่องดื่มที่บริโภคเป็นประจำ เช่น ชา กาแฟ ยาชงสมุนไพร เครื่องดื่มชูกำลัง จน.และประมาณที่บริโภคต่อวัน
- ประวัติการใช้ยา ; ยาที่ทานประจำ, ทานอยู่การรับประทานยาบางชนิดส่งผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ยาระบาย(ทำให้ปัสสาวะมีสีคล้ายเลือด)/ ยาขับปัสสาวะ, ยาลดความดันโลหิต (ทำให้ปัสสาวะออกมามากหรือบ่อยขึ้น)
- ประวัติโรคประจำตัวหรือการเจ็บป่วยอื่น ๆ เช่น โรคทางระบบประสาททำให้กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ดรคหัวใจทำให้ปัสสาวะออกน้อย/ ประวัติการได้รับการผ่าตัดอวัยวะในอุ้งเชิงกราน การมีต่อมลูกหมากขยายโตขึ้น และ,หรือการเคยได้รับการรักษาเกี่ยวกับการติดเชื้อของอวัยวะสืบพันธ์ ฯ
- แบบแผนการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น ระหว่างวันกลั้นปัสสาวะหรือไม่ ทำความสะอาดอวัยวะเพศดีหรือไม่ รวมทั้งการใช้ถุงยางอนามัย การสวนล้างช่องคลอด เป็นต้น
โรคนิ่ว Kidney stone ; เป็นก้อนผลึกขนาดเล็ก ประกอดด้วยหินปูนและสารเคมีอื่น ๆ มักพบที่บริเวณกรวยไต หรือท่อทางเดินปัสสาวะ
เป็นผลจากที่ปัสสาวะเข้มข้นมากและเกิดการตกตะกอนจนเป็นนิ่ว ซึ่งนิ่วสามารเป็นซ้ำได้
ปัจจัยเสี่ยงเกิดโรค ; กินอาหารที่มีออกซาเลตหรือกรดยูริกสูง/ ดื่มน้ำน้อย/ กลั้นปัสสาวะเสมอ/ เคลื่อนไหวร่างกายน้อย
(เช่น เป็นอัมพฤกษ์,อัมพาต,
การใส่สายสวนปัสสาวะตลอด)/ ไตอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง/ โรคเรื้อรังบางชนิดส่งผลให้ในเลือดหรือร่างกายมีสารก่อนิ่วสูงกว่าปกติ
(เช่น Hyperparathyroidism, Gout)
โรคเนื้อเยื่อไตอักเสบ Glomerulonephritis ; คือภาระการอักเสบของกลุ่มเลือดฝอยของไต ซึ่งปกติจะทำหน้าที่กรองของเหลวส่วนเกินหรือของเสียที่ปนมาในกระแสเลือดให้กลายเป็นปัสสาวะ สามารถเกิดขึ้นได้เองหรือเป็นผลมาจากการเป็นโรคอื่น เช่น SLE, Diabetes ซ่างแบ่งเป็น 2 ชนิด
คือ ไตอักเสบเฉียบพลันและไตอักเสบเรื้อรัง ซึ่งไตอักเสบบางชนิดก่อให้เกิดไตวายได้ โดยจะตรวจพบได้จากการตรวจปัสสาวะหรืออาการแสงออกทางร่างกาย ได้แก่ ปัสสาวะเป็นสีชมพูหรือสีโคล่า/ ปัสสาวะเป็นฟอง(มีproteinปน)/ เกิดการบวมน้ำที่หน้า มือ เท้าหรือท้อง/ ความดันสูง/ อ่อนล้า เหนื่อย เพลีย ปวดข้อ เป็นผื่นคันหรือมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
การดูแลรักษาตนเองเบื้องต้น ; ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารเพื่อควบคุมความดันโลหิต โดยงดอาหารรสเค็ม งดเครื่องดื่มที่มีส่วนประกอบของโพแทสเซียมจน.มาก งดสูบบุหรี่(ในผู้ป่วยที่สูบบุหรี่)
-