Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่น Teenage pregnancy ภัควณิชย์ ผูกเกษร 64019564,…
การตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่น Teenage pregnancy
ภัควณิชย์ ผูกเกษร 64019564
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ปัจจัยด้านสตรีวัยรุ่น
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจ เป็นวัยที่มีพัฒนาการทางเพศสมบูรณ์มากขึ้น มีความสนใจ อยากรู้อยากลอง ที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์
การจัดการเรียนขการสอนเรียนเพศศึกษาในโรงเรีนไม่จริงจัง ทำให้วัยรุ่นขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
การดื่มสุรา หรือการใช้สารเสพติด เป็นปัจจัยส่งเสริมในหมู๋เพื่อน
ปัจจัยด้านครอบครัว
ภาระหน้าที่ของพ่อแม่ ขาดความเอาใจใส่ วัยรุ่นมีอิสระมากขึ้น
สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี
ครอบครัวแตกแยก
การถูกข่มขืนจากคนในครอบครัวหรือคนใกล้ชิด
ปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรม และค่านิยม
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
เอกสารอ้างอิง
ผศ.ดร.บังอร ศุภวิทิตพัฒนา และ ดร.ปิยะพร ประสิทธิ์วัฒนเสรี.(บรรณาธิการ).(2562).การพยาบาลและการผดุงครรภ์สตรีที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน.คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุระหว่าง 10-19ปี
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ด้านจิตสังคม
เกิดภาวะเครียดจาการท้องไม่พร้อม
เกิดความรู้สึกศูญเสียคุณค่า ไม่ได้รับการยอมรับจากครอบครัว สังคม
ปัญหาการปรับตัว เนื่องจากวุฒิภาวะทางอารมณ์ยังไม่เจริญเติมที
การปรับตัวต่อบทบาทมารดา
ด้านร่างกาย
วัยรุ่นยังอยู่ในระยะที่มีการพัฒนาและการเจริญเติบโตของร่างกายเพื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ การเติบโตของร่างกายยังไม่สมบูรณ์และอาจดูแลตนเองไม่เหมาะสม
สตรีวัยรุ่นบางรายเริ่มมีประจำเดือนครั้งแรกและยังมาไม่สม่ำเสมอ ทำให้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ล่าช้า ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ่อนตามมา
เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้วางแผม มีความสเี่ยงต่อการทำแท้ง
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
ภาวะทุพโภชานการ
ภาวะความดันโลหิตสู.ขณธตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการผลิตเลือดมากกว่าวัยอื่น
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด Preture Rupture of Membranes
การติดเชื้อระหว่างการตั้งครรภ์ โดยเฉพาะโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน Cephalopelivc disproportion
การตกเลือดในระยะหลังคลอด
อัตราการตายของมารดาสูงขึ้น
ผลต่อทารก
การดูแลในระหว่างการตั้งครรภ์ที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดภาวะแทรกซ่อนต่างๆ
ทารกได้รับการดูแลไม่เหมาะสมทั้งร่างกายและจิตใจ
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม
เสียโอกาสในการพัฒนาตนเอง เนื่องจากยังอยู่ในวัยเรียน ทำให้มีการศึกษาต่ำส่งผลต่อการประกอบอาชีพ
การละทิ้งทารก ทารกถูกทอดทิ้ง ทำให้เกิดปัญหาสังคมตามมา
การพยาบาล แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะที่ 1 ระยะตั้งครรภ์
ประเมินการยอมรับการตั้งครรภ์และแนะนำแหล่งช่วยเหลือสนับสนุน
พยาบาลควรสร้างสัมพันธภาพ เพื่อให้เกิดความไววางใจ
ให้คำปรึกษาและช่วยแนะนำทางเลือกในการตั้งครรภ์ พยาบาลควรให้คำข้อมูลทางเลือกกับวัยรุ่นบางรายที่ไม่พร้อมตั้งครรภ์
ให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
พยาบาลควรให้คำแนะแก่สตรีตั้งครรภ์ให้เห็นถึงความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัด
พยาบาลควรให้คำแนะแก่สตรีตั้งครรภ์สังเกตุอาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาล
พยาบาลควรให้คำแนะแก่สตรีตั้งครรภ์เรื่องการรรับประทานอาหารที่ครบถ้วนถูกต้องและเหมาะสมกับการตั้งครรภ์
ระยะที่ 2 ระยะคลอด
ให้การดูแลเหมหือนกับสตรีตั้งครรภ์ปกติ อาจพบภาวะ Cephalopelivc disproportion เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
การคลอดยาวนาน
การคลอดติดขัด
การผ่าคลอด
การใช้หัตถการทางสูติในการคลอด
เพื่อดูแลความก้าวหน้าในการคลอด
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
ระยะที่ 3 ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
สงัเกตอาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาล
อาการไข้ ปวดมดลูก น้ำคาวปลาเป็ฯสีแดงตลอด มีกลิ่นเหม็น เต้านมอักเสบ บวมแดง
งดการมีเพศสัมพันธ์อย่างน่อย 6 wk
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
ส่งเสริมการปรับตัวเข้าสู้บทบาทการเป็ฯมารดาวัยรุ่นหลังคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปัญหาที่ 1 มารดาเสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูง
ข้อมูลสนับสนุน ความดันโลหิตอยู่ระหว่าง 140/90 mmHg
;วัตถุประสงค์ ความดันโลหิตลดลงหรืออยู่ในเกณฑ์ปกติ
เกณฑ์การประเมิน 1.ความดันโลหิตอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า 140/90mmHgหรือไม่สูงเกิน 160/110mmHg 2. มารดาตั้งครรภ์สามารถอธิบายเกี่ยวกับการดูแลตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมได้
กิจกรรมการพยาบาล 1. แนะนำเกี่ยวกับการเกิดความดันโลหิตสูง อาการและอาการแสดง ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ อาการนำก่อนชัก การรักษาพยาบาลการดูแลตนเอง และการป้องกันไม่ให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น 2. ประำเมินกิจวัตรประจำวันว่ากิจกรรมมีผลทำให้ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้นหรือไม่ 3.แนะนำหญิงตั้งครรภ์ในการดูแลตนเองขณะอยู่บ้าน เช่น การรับประทานอาหาร ชั่งน้ำหนัก การนับลูกดิ้น สังเกตอาการที่ควรมาพบแพทย์ทันที 4. อธิบายให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
การประเมินผล 1. วัดความดันโลหิตได้ 130/90mmHg 2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะความดันโลหิตสูงมากขึ้น จากการซักถามสามารถตอบคำถามได้อย่างถูกต้อง
ปัญหาที่ 2 พร่องความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์เนื่องจากไม่มีปรพสบการในการตั้งครรภมาก่อน
ข้อมูลสนับสนุน ตั้งครรภ์เป็นครรภ์แรก
วัตถุประสงค์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ควาามเข้าใจในการดูแลตนเอง
เกณฑ์การประเมิน หญิงตั้งครรภ์สามารถอธิบายเกี่ยวกับการดูแลตนเองไ้ด้
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสุขภาพและดูแลให้คำแนะนำ การตรวจร่างกาย ตรวจครรภ์ และการคำนวณอายุครรภ์ เพื่อคัดกรองภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
ประเมินความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตน การดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์
ให้ความรู้เรื่องโภชนาการแก่หญิงตั้งครรภ์
แนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันเพื่อป้องกันการอักเสบติดเชื้อ
แนะนำเรื่องกรนอนหลับพักผ่อน ควรหลับวันละ 8-9hr. `
แนะนำให้มารดาสังเกตน้ำหนักและดูแลให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
ไตรมาสที่ 1 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.5-2กิโลกรัม
ไตรมาสที่ 2 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์
ไตรมาส 3 น้ำหนักควรเพิ่ม 0.2-0.3 กิโลกรัม/สัปดาห์
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์นับลูกดิ้นทุกวัน โดยการนับหลังรับประทานอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เป็นเวลา 1 ชม. ลูกต้องดิ้นอย่างน้อย 3 ครั้ง รวมกัน สามมื้อต้องดิ้นไม่น้อยกว่า 10 ครั้งจึงถือว่าปกติ
การประเมินผล หญิงตั้งครรภ์สามารถอธิบายเกี่ยวกับการดูแลตนเองไ้ด้
ปัญหาที่ 3 มารดาหลังคลอดมีความวิตกกังวล กลัวครอบครัวไม่ยอมรับ
ข้อมูลสนับสนุน หญิงตั้งครรภ์มีสีหน้าวิตกกังวล
วัตถุประสงค์ เพื่อลดภาวะวิตกกังวล
เกณฑ์การประเมิน หญิงตั้งครรภ์มีสีหน้าที่สดใส ความวิตกกังวลลดลงพูดคุยกับครอบครัวมากขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
ใช้คำพูดที่สุภาพ ชัดเจน เข้าใจง่าย แสดงท่าทีสนใจและตั้งใจฟัง หลีกเลี่ยงคำพูดที่แสดงถึงความไม่พอใจ
แสดงสีหน้าเห็นใจ เข้าใจ หรือสัมผัสร่างกายด้วยความนุ่มนวลตามควาามเหมาะสม
เปิดโอกาสให้มีการซักถามปัญหา
อยู่ใกล้ชิด คอยปลอบใจ ให้กำลังใจ รับฟังและเป็นที่ปรึกษษพร้อมจะช่วยแก้ไขปัญหา
ปฏิบัติการพยาบาลด้วยความนุ่มนวล มั่นใจ และไม่แสดงความตื่นตกใจมากจนเกินไป
ประเมินความต้องการของหญิงตั้งครรภ์
การประเมินผล หญิงตั้งครรภ์มีสีหน้าที่สดใส ความวิตกกังวลลดลงพูดคุยกับครอบครัวมากขึ้น
นวัตกรรม เครื่องตรวจครรภ์เรียลไทม์“ เครื่องตรวจครรภ์เรียลไทม์” ช่วยวินิจฉัยและติดตามครรภ์คุณแม่มือใหม่ในทุกสภาวะ พร้อมแจ้งเตือนและเรียกคุณแม่เข้ามาพบแพทย์ได้ในทันที หากเกิดอาการผิดปกติ เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดอันตรายต่อของแม่ และทารกในครรภ์ จากการพบแพทย์ช้าเกินไป