Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการพยาบาลวันที่ 20 ก.ค. 2565, รอยโรค , นางสาวสุมิตตา ช่อมะลิ เลขที่…
สรุปการพยาบาลวันที่ 20 ก.ค. 2565
COVID-19
ลักษณะอาการ
ไอ เจ็บคอ ไข้ ปวดกล้ามเนื้อ มีน้ำมูก ปวดศีรษะ
การรักษา
ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการหรือสบายดี
ให้การรักษาแบบ แยกกักตัวที่บ้าน
ให้ดูแลรักษาตามอาการตามดุลยพินิจของแพทย์ ไม่ให้ยาต้านไวรัส เนื้อจากส่วนมากหายเอง
พิจจารณาให้ยาฟ้าทะลายโจร
2.ผู้ป่วยอาการไม่รุนแรง ไม่มีปอดอักเสบ ไม่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรครุนแรง/โรคร่วมสำคัญ
อาจพิจารณาให้ Favipiravir เริ่มยาโดยเร็วที่สุด
หากพบเชื้อเมื่อผู้ป่วยมีอาการแล้วเกิน 5 วัน ผู้ป่วยไม่มีอาการหรืออาการน้อยไม่จำเป็นต้องให้ยาต้านไวรัส
ผุ้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง แต่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรครุนแรงโรคร่วมสำคัญ
-อายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป,COPD (GOLD grade 2 ขึ้นไป ) รวมโรคปอดเรื้อรัง
-CKD (stage 3 ขึ้นไป), โรคหัวใจและหลอดเลือด รวมโรคหัวใจแต่กำเนิด, โรคหลอดเลือดสมอง
-เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้, ภาวะอ้วน(นน.> 90 ), ตับแข็ง, ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ, ผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ยาที่มีความเสี่ยง - Molnupiravir, -Remdesevir, -Nirmaltrevir/ritonavir
การรักษา COVID-19 ในหญิงตั้งครรภ์
ควรพิจารณาก่อนให้ยา Favipiravir เนื้อจากอาจทำให้เด็กอ่อนในท้องพิการ และไม่แนะนำให้ยาใน ไตรมาส 1
สามารถใช้ยาFavipiravir ในไตรมาส 2และ 3
สามารถใช่ยา remdesivir ได้ในทุกไตรมาส
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วย
ผู้ป่วย Covld-19 ส่วนใหณ่มีอาการไม่รุนแรง อาจอยู่ที่บ้าน หรือ ที่โรงพยาบาลเพียงระยะสั้นๆแล้วกลับไปกักตัวที่บ้าน
งดออกจากบ้านไปยังชุมชนทุกกรณี, ให้แยกห้องนอนจากผู้อื่น, แยกห้องน้ำได้ให้แยก,หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับผู้สูงอายุ
สวมใสหน้ากากอนามัยตลอดเวลา, ล้างมือด้วยสบู่และน้ำเป็นประจำ, หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับผู็อื่นในระยะไม่เกิน 2 เมตร, ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอ
กลุ่ม 608
1.ผู้สูงอายุมีอายุ 60 ปีขึ้นไป
2.ผู้ที่โรคประจำตัวในกลุ่ม 7 โรค -โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง, -โรคไตวายเรื้อรัง, -โรคมะเร็งหรือภูมิคุ้มกันต่ำ, โรคอ้วน, โรคเบาหวาน, โรคหัวใจและหลอดเลือด,โรคหลอดเลือดสมอง
3.หญิงตั้งครรภ์
สรุป
ผู้ที่ได้รับวัคซีน 3 เข็มจะมีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสโอมิครอน BA.5 ลดลงแต่ยังป้องกันการติดเชื้อรุนแรงได้
ผู้ที่ได้รับวัคซีน 3 เข็ม โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงควรได้รับเข็ม 4 เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันต่อไวรัส ลดการติดเชื้อและความรุนแรงของโรค
มาตรการดูแลตนเอง ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ
การรักษาโรคไข้เลือดออก
ไข้เดงกี
อาการ
ปวดศีรษะ, ปวดกระบอกตา,ปวดเมื่อยตามตัว,ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก/ข้อ, ผื่น
อาการเลือดออก:จุดเลือดออก เลือดกำเดา อาเจียน/ถ่ายเป็นเลือด หรือสีดำ, เม็ดเลือดขาวต่ำ, เกล็ดเลือดต่ำกว่า 150.000 เซล/ลบมม., Hct เพิ่มขึ้น 10-20%
ไข้เลือดออก
ไข้สูงลอย 2-7 วัน, อาการเลือดออก:การตรวจทูนิเกต์ให้ผลบวก จุดเลือดออกตามตัว, ตับโต, ช็อก( การตรวจทางห้องปฏิบัติการ -เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000 เซล/ลบ.มม. มีการรั่วของพลาสมา: Hematocrit เพิ่มขึ้นมากกว่า 20% มีน้ำในช่องปอด ช่องท้อง Albumin < 3.5 gm%
ความรุนแรง
เกรด 1 ไม่มีอาการเลือดออก มีแต่การตรวจทูนิเกต์ให้ผลบวก
เกรด 2 มีอาการเลือดออกร่วมด้วย เช่น มีจุดเลือดออก มีเลือดกำเดา อาเจียนเป็นเลือด
เกรด 3 มีอาการช็อก
เกรด 4 มีอาการช็อกนาน ความดัน/ชีพจรวัดไม่ได้ ตัวเป็นลาย ตัวเขียว
การดำเนินโรคไข้เลือดออก
ระยะไข้ 2-7 วัน
ระยะวิกฤต 24-48 ชั่วโมง,มีการรั่วของพลาสมา,มีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ระยะฟื้นตัว 3-7 วัน
การวินิจฉัย - Tourniquet test,CBC ช้าสุด วันที่ 3 ของไข้ และตรวจติดตามจนกว่าไข้จะลงอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง
ผู้ป่วยอายุ< 1 ปี,ผู้ป่วยเอะอะโวยวาย มีอาการทางสมอง
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัว เช่น Thalassemia,G-6-PD deficiency ,CHD,มีเลือดออก
ผู้ป่วยอ้วน,ผู้ป่วย Grade IV
การตรวจทูนิเกต์ (การวัดความดัน และรัดแขนไว้ 5 นาที Systolic + Diastolic /2 = 5 นาที การตรวจให้ผลบวก> 10 จุด/ตารางนิ้ว ความถูกต้อง 63%
ผลลบลวง
ผู้ป่วยอ้วน,ผู้ป่วยผอม
เทคนิตไม่ดี (รัดแขนไม่กระชับ ความดันไม่คงที่) กำลังอยูในภาวะช็อก
อาการอันตรายที่ต้องรีบนำผู้ป่วยมาโรงพยาบาลทันที
ไข้ลง/ไข้ต่ำลง และอาการไม่ดีขึ้น หรือ เลวลง
ปวดท้องมาก อาเจียนมาก กระสับกระส่าย ผุดลุกผุดนั่ง ร้องกวนมากในเด็กเล็ก,เหงื่อออก ตัวเย็น ตัวลาย เขียว ซึมมาก ความประพฤติเปลี่ยนแปลง ไม่ปัสสาวะ 4-6 ชั่วโมง
ผลการตรวจเลือด CBC ที่มีความหมาย
เม็ดเลือดขาวต่ำ<5,000 cell ไข้จะลงภายในเวลา 24 ชั้วโมง
เกล็ดเลือดต่ำ < 100,000 cell กำลังเข้าสู่ระยะวิกฤต
ความเข้มข้นของเลือด (Hematocrit) เพิ่มขึ้น 10-20% กำลังอยู่ในระยะวิกฤติ อาจต้องให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ถ้าดื่มน้ำ หรือรับประทานอาหารไม่ได้
การดูแลเบื้องต้นระดับ รพสต/PCU
ให้การตรวจคัดกรองเพื่อการวินิจฉัย, ให้การดูแลรักษาในระยะไข้ 2 วันแรก
ส่งต่อผู้ป่วยไปโรงพยาบาลชุมชน -เมื่อมีข้อบ่งชี้( ปวดท้อง/อาเจียนมาก เลือดออก ขาดน้ำ) -เพื่อการวินิจฉัย
การวินิจฉัยภาวะช็อก
การวินิจฉัยภาวะช็อกยาก เนื่องจากผู้ป่วยจะมีความรู็สติดี
ไข้ลง แต่ชีพจรเร็ว, ความดันแคบ เช่น 100/80,110/90 มม.ปรอท
ชีพจรเบา เร็ว,ระบบไหลเวียนที่ปลายเท้าไม่ดี (กดปลายมือ ปลายเท้า แล้วยังขาวอยู่เกิน 2 วินา ที)
กระสับกระส่าย ผุดลุกผุดนั่ง, เอะอะโวยวาย พูดจาหยาบคาย ความประพฤติเปลี่ยนแปลง
ช็อกนาน
-เกิน 10 ชั่วโมง ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง เสียชีวิต!!
เกิน 4 ชั่วโมง ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง , มีตับวาย -โอกาสรอด 50% , มีตับวาย+ไตวาย โอกาสรอด 10% , มีมากกว่า 3 Organs failure โฮกาสรอด ปาฏิหารริย์
การรักษา DHF ในผู้ป่วยผู้ใหญ่
การให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ
ผู้ป่วยที่มีอาการอาเจียนมาก,อาการแสดงของภาวะขาดน้ำตั้งแต่ระดับปานกลางถึง ระดับรุนแรง
ผู้ป่วยที่เริ่มเข้าสู่ระยะวิกฤตที่มีการรั่วของพลาสมา สังเกตค่าเกล็ดเลือด <100,000/mm และค่าฮีมาโทคริต เพิ่มขึ้น
1.สารน้ำในกลุ่ม isotonic crystalloid
2.สารน้ำในกลุ่ม balanced ccrystalloid
ภาวะแทรกซ้อนทางโลหิตวิทยา
ภาวะเลือดออกผิดปกติ
ไม่รุนแรง: เลือดออกตามไรฟัน เลือดกำเดาไหล จุดเลือด จ้ำเลือด หรือเลือดออกใต้ผิวหนัง ประจำเดือนมามากกว่าปกติ
รุนแรง: เลือดออกในทางเดินอาหาร
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ , ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
DHF: Prolonged APTT@ TT>PT, DSS (Prolonged shock): Prolonged
APTT@TT@PT
ไข้มาลาเรีย Malaria
1. ยุงพาหะหลัก (primary vectors)
ยุงก้นปล่องชนิดไดรัส (Anopheles
dirus) มีประสิทธิภาพสูงสุดในการแพร่เชื้อ มาลาเรียในประเทศไทย อาศัยบริเวณปป่าทึบ ชอบวางไข่ตามแหล่งน้ำขังที่มีร่มเงา โพรงหิน แอ่งน้ำ มีนิสัยชอบ ินเลือดคนและชอบเกาะพักนอกบ้าน
ยุงก้นปล่องชนิดมินิมัส (Anopheles minimus)
ยุงก้นปล่องชนิดแมคคูลาตัส (Anopheles maculatus)
2. ยุงพาหะรอง (secondary vectors)
ยุงก้นปล่องชนิดซันไดคัส (Anopheles sundaicus)
พาหะมาลาเรียใน
ท้องที่ชายทะเลและเกาะแก่งทางภาคตะวันออกและภาคใต้
ยุงก้นปล่องชนิดอโคไนตัส (Anopheles aconitus)
พบได้ทั่วไปในท้องที่ป่าเขา
และที่ราบทุ่งนาทั่วประเทศ เพาะพันธุ์ในลำธารน้ำไหล น้ำซับ น้ำซึม
*ยุงก้นปล่องชนิดซูโดวิวโมโร (Anopheles pseudowillmori)
* ยุงที่พบ
อยู่ตามบริเวณป่ าเขาตอนเหนือของประเทศ ลักษณะนิสัยคล้ายยุงก้นปล่องชนิดมินิมัส
การติดต่อของไข้มาลาเรีย
โดยถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียในต่อมน้ำลายกัด และปล่อยเชื้อเข้าสู่
กระแสเลือดคน เป็นวิธีธรรมชาติที่พบได้มากที่สุด
ติดต่อจากมารดาซึ่งมีเชื้อมาลาเรียในร่างกายและถ่ายทอดทางรกไปสู่ทารกใน ครรภ์ วิธีนี้พบได้น้อยมาก มักพบได้ในท้องที่ที่มีมาลาเรียชุกชุม กรณีเช่นนี้จะ พบระยะฟักตัวสั้นกว่าวิธียุงกัด ทารกแรกเกิดและมารดาจะมีเชื้อมาลาเรียชนิด เดียวกัน
ติดต่อโดยวิธีการถ่ายเลือด จะพบในรายที่ผู้บริจาคโลหิตมีความหนาแน่นของ เชื้อมาลาเรียในกระแสโลหิตต่ำและไม่มีอาการ หากไม่ได้ทำการตรวจโลหิตหา เชื้อมาลาเรียก่อน ผู้ป่วยที่รับการถ่ายเลือดจะป่วยเป็นมาลาเรียได้
อาการ
ระยะฟักตัวในผู้ป่วย(incubation period)
เฉลี่ยแล้วใช้เวลา 10-14 วันน เชื้อฟัลซิปารัม (P. falciparum) โอวาเล่ (P. ovale) จับไข้ทุก 48 ชั่วโมง ส่วนมาลาริอี(P. malariae)
จับไข้ทุก 72ชั่วโมง ไข้มาลาเรียทุกชนิดจะมี อาการไข้ 3ระยะ
ระยะหนาว (cold stage)
เป็นเวลา 15-60 นาที ผู้ป่วยจะรู้สึกหนาวมาก มีอาการสั่นเกร็ง
ระยะร้อน (hot stage)
ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น
39-40องศาเซลเซียส ชีพจรแรง ปวดกระบอกตา หน้าแดง ผิวหนังแดงและแห้ง กระหายน้ำ คลื่นไส้
ระยะเหงื่อออก (sweating stage)
ระยะนี้กินเวลาราว 1 ชั่วโมง ผู้ป่วยเริ่มมีเหงื่อออกตามหน้า บริเวณขมับ และผิวหนังลำตัว ต่อจากนั้นอุณหภูมิร่างกายลดลงอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยอ่อนเพลีย หลังจากนั้น เข้าสู่ระยะพัก คือ ระยะที่ผู้ป่ วยไม่มีอาการจับไข้ผู้ป่วยรู้สึกสบายดี กินเวลาประมาณ 1-2 วันแล้วแต่ ชนิดของเชื้อ
การจับไข้มาลาเรียมี 4 ลักษณะคือ
1.การจับไข้ครั้งแรก (Primary attack)
การเกิดอาการไข้กลับของไข้มาลาเรีย (Relapse)
Recrudescence เป็นอาการไข้กลับที่เกิดจากระยะเชื้อในเม็ดเลือดแดงของเชื้อ มาลาเรียถูกกำจัดไม่หมดเมื่อเป็นมาลาเรียในตอนแรก
Reinfection คือการเกิดอาการของไข้มาลาเรียโดยได้รับเชื้อครั้งใหม่ ไม่ใช่เชื้อที่หลงเหลือค้างจากการรับเชื้อและป่วยครั้งก่อน
ประวัติและอาการที่ต้องสงสัยโรคไข้มาลาเรีย
-เป็นผู้ที่มีประวัติอาศัย หรือ เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรคไข้มาลาเรีย ภายใน 1 เดือน
เป็นผู้ที่เคยป่วยเป็นโรคไข้มาลาเรียระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา
มีอาการไข้และ ร่วมกับอาการไม่จำเพาะ คล้ายกับโรคติดเชื้อไวรัสทั่วไป ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ไม่สบายท้อง ปวดเมื้อยกล้ามเนื้อและข้อ หน้าวสั่น เป็นต้น
กรณีมาลาเรีย รุนแรง ระดับสติลดลง อ่อนเพลียมาก ชัก เหนื่อยหอบ หายใจเร็ว ช็อค ตาเหลือง ปัสสาวะออกน้อย
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ผลแล็บ Thick film, Thin film (ควรตรวจคู่กัน)
การตรวจ Antigen, Antibody
การใช้ชุดตรวจอย่างเร็ว (Rapid test)
การตรวจผลทางชิ้นส่วนพันธุกรรม PCR
การใช้ยารักษา
รายที่ผิดปกติ ให้ใช้ ideal body weight (ไม่เกิน 80 กก.)
หญิงมีครรภ์ ไม่ใช้ยา Primaquine
การรักษา
1.โรคไข้มาลาเรียชนิดฟัลซิปารัมที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ในพื้นที่ไม่พบการดื้อยา ใช่ยา รับประทาน Dihydroartemisinin-Piperaqine 3วัน และ Orimaquine 1 วัน
ในพื้นที่ดื้อต่อยา ใช้ยารับประทาน Artesunate-Pyronaridine 3 วัน และ Primaquine 1 วัน
2.โรคไข้มาลา้รียชนิดไวแวกซ์หรือโอวาเล่ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ใช้ยา Chloroquine 3 วัน และ Primaquine 14 วัน
3.โรคไข้มาลาเรียชนิดมาลาริอีและโนเลไซที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ยาที่ใช้ Chloroquine 3 วัน
4.การรักษาผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียชนิดผสมที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
text
การป้องกัน
มาตรการต่อยุง
การนอนในมุ้ง
การสวมเสื้อผ้าปกปิดร่างกายให้มิดชิด เช่น ใช้เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว
การใช้ยาทากันยุง
การจุดยาไล่ยุง
มาตรการต่อคน
ให้สุขศึกษา
รณรงค์ป้องกันไข้มาลาเรีย
ประชาสัมพันธ์
การมีส่นร่วมชุมชน
Typhus
Rickettsia กลุ่มของเชื้อโรคที่มีลักษณะต่างๆอยู่ระหว่างแบคทีเรีย และ ไวรัส
1.กลุ่ม spotted fever ได้แก่โรค Rocky mountain spotted fever (RMSF) , โรค Rickettsial pox และโรค Boutonneuse fever
2.กลุ่ม typhus ได้แก่ โรคLouse-borne (epidemic)typhus, โรค Brill-Zinsser disease (เช่น relapsing louse-borne typhus) และ murine (endemic or flea-borne) typhus
3.กลุ่ม scrub typhus
Rickettsia
ที่มีรายงานในประเทศไทย
โรค scrub typhus,โรค murine typhus และ โรคในกลุ่มspotted fever
พบมากในสัตว์ หนูบ้าน หนูนา กระรอก และมีแมลงเป็นพาหะน าโรคถ่ายทอดเชื้อมาสู่คนที่โดนแมลงกัด (mite) เห็บ (tick) หมัด (flea) และ เหาตัว (body louse)
Scrub typhus เป็นโรคติดต่อในสัตว์
ฟันแทะ คน เป็น host โดย
บังเอิญ
ต้องมีหนูป่า (Wild rat) โดยเฉพาะหนูใน Subgenus Rattus
ต้องมีไรอ่อน (Chigger) ในกลุ่ม Leptotrombidium delicense
พื้นที่ที่เป็นแหล่งอาศัยของไร (Transitional vegetation) เช่น ป่าโปร่ง Fringe vegetation พื้นที่เพาะปลูก หรือ พื้นที่เกษตรกรรม
มีเชื้อ Orientia tsutsugamushi เช่น เขตร้อน จนถึงเขตอบอุ่น
ระยะฟักตัว
ปกติ 10-12 วัน (อาจแตกต่างกันได้ตั้งแต่ 6-21 วัน)
ระยะติดต่อของโรค
ไม่มีการติดต่อจากคนสู่คน คนเป็น Accidental host
Scrub:มึนงง ไข้ ซึม ไม่ได้สต
อาการที่สำคัญ
มีไข้สูง ปวดศีรษะ +/- หนาวสั่น
มีผื่นแดงตามตัว, เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลว, ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตัว ปวดศีรษะ (ขมับ หน้าผาก, ต่อมน้ำเหลืองโตอักเสบ, ถ่ายเหลว ไอแห้งๆ
Eschar
เป็นแผลขอบยกสีแดง มีสะเก็ดสีดำตรงกลาง เรียกว่า eschar
อาจพบแผลคล้ายรอยบุหรี่จี้ (Eschar) บริเวณที่ถูกไรอ่อนกัด
มักพบตามซอกพับ เช่น ขาหนีบ รักแร้ ใต้ราวนม,พบอยู่นานประมาณ 6-18 วัน, พบได้ประมาณ ร้อยละ 30-40
การวินิจฉัยโรคใช้วิธีการ >> ตรวจทางน ้าเหลือง (serology
Physical
examination
ผื่นแดงตามตัว (maculopapular rash >> body, arms,legs) and subside within 2-3 day
อาจมีอาการตาแดง ไม่สู้แสง (conjunctival injection)
Lymphadenopathy (especially near eschar)
Hepatospleenomegaly after fever 4-5 day
ถ้าอาการรุนแรงอาจมีอาการ - ซึม สับสน ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ถ้าผู้ติดเชื้อไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง
ภาวะแทรกซ้อน ของ
Scrub typhus
Hepatitis, Pneumonitis, Acute renal failure
Pneumonitis, ARDS, Septic shock, DIC, Myocarditis, Coma
การรักษา
Doxycycline 100 mg BID x 7 day, OR
Tetracycline 500 mg BID x 7 days, OR
Chloramphenicol (50-75 mg/kg/day) x 7 day, OR Ciprofloxacin และOfloxacin
Acute pharyngitis,Acute tonsillitis,Avian Influenza
Acute pharyngitis
เจ็บคอ ไอก็ได้ไม่ไอก็ได้ อาจมีไข้หรือไม่มีไข้ก็ได
โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก viral infection
คนไข้ที่คอแดงมาทุกรายจึงไม่จำเป็นต้องได้รับ ATB treatment,
Viral pharyngitis
มีน้ำมูก คัดจมูก ตาแดง
ส่วนใหญ่ไม่มีการตรวจพิเศษ ยกเว้น viral infection บางชนิดได้แก่ Influenza, Mononucleosis-like symptom
Bacterial pharyngitis
ลักษณะไข้ หนาวสั่น เจ็บคอมากทันที,กลืนเจ็บ ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน
อายุเด็กที่มักพบคืออายุมากกว่า 3 ปี ( 3-14ปี)
การใช้ยาปฏิชีวนะ
Amoxycillin เด็กเล็ก 40 mg/kg/day (ไม่เกิน 1,500 mg/day) แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง หรือ 45 mg/kg/day (ไม่เกิน 500 mg/day) แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง
เด็กโต วัยรุ่น ผู้ใหญ่ Amoxycillin(500 ) 1*3 pc
กรณีแพ้ Penicillin : ใช้ roxithromycin ในผู้ใหญ่เเละเด็กโต หรือ erythromycin syr ในเด็กเล็ก ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วย Amoxicillin พิจารณาใช้ Co-amoxiclav หรือ Clarirhromycin/azithromycin
TONSILLITIS
พบมากในเด็กเล็ก มักเกิดจากการติดเชื้อไวรัส
ในเด็กโตอายุ 5-15 ปี และผู้ใหญ่ มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการ
เจ็บคอ โดยเฉพาะต่ำแหน่งมุมขากรรไกร ถ้าเป็นมาก อาจเจ็บร้าวไปที่หูได้
มีไข้ ปวดหัว, กลืนเจ็บ และกลืนลำบาก
ต่อมทอนซิลโตบวมแดง และ อาจมีหนองบริเวณต่อม ทอนซิล
ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต, ในเด็กเล็กที่ยังพูดไม่ได้ อาจมีน ้าลายไหลออกจากมุมปากไม่ยอมกินอาหาร และงอแง
อาการ
มีไข้ ปวดหัว
เจ็บคอ โดยเฉพาะต่ำแหน่งมุมขากรรไกร ถ้าเป็นมาก อาจเจ็บร้าวไปที่หูได้
กลืนเจ็บ และกลืนลำบาก
ต่อมทอนซิลโตบวมแดง และ อาจมีหนองบริเวณต่อมทอนซิล
ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต ในเด็กเล็กที่ยังพูดไม่ได้ อาจมีน ้าลายไหลออกจากมุมปาก
การรักษา
การให้ยา,การเกิดต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลันว่าเกิดจากไวรัสหรือแบคทีเรีย
ให้ยาลดไข้ ยาพ่น หรือยาอมแก้เจ็บคอ
Avian Influenza
ระยะฟักตัวและอาการในคน
ระยะฟักตัวประมาณ 1 ถึง 3วัน
อาการทางระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน หนาวสั่น ปวดศีรษะ
พบอาการตาแดงซึ่งอาจหายได้เองภายใน 2-7 วัน
จะมีอาการรุนแรงถึงปวดบวม และเกิดระบบหายใจ
การป้องกันและการควบคุม
เฝ้าระวังการป่ วยด้วยโรคปอดบวมและไข้หวัด
กรณีที่สัมผัสสัตว์ปีก
ใช้แว่นป้องกันของเหลวกระเด็นเข้าตา, ใส่เสื้อผ้ามิดชิด
ล้างมือบ่อย ๆ,อาบน้ำทำความสะอาดร่างกาย
สงสัยว่ามีอาการป่ วยโดยเฉพาะผู้สัมผัสสัตว์ ให้พบแพทย์โดยเร็ว, สงสัยว่ามีอาการป่ วยโดยเฉพาะผู้สัมผัสสัตว์ ให้พบแพทย์โดยเร็ว
การทำลายเชื้อไข้หวัดนก
อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เชื้อถูกทำลายภายใน 30 นาที หากเป็นน้ำเดือนเชื้อถูกทำลายภายใน 5 นาที
ความเป็ นกรดด่าง: หมดฤทธิ์้ถ้า่เจอสภาพกรด ถูกทำลาย: 70%
แอลกอฮอล์ ย่าฆ่าเชื้อที่มีไอโอดีน มีชีวิตยาวขึ้น: ในเนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิต อุจจาระ ที่ชื้นแฉะ
สัตว์รังโรค
นกอพยพและนกตามธรรมชาติ,เชื้อออกมากับน้ำมูก น้ำลาย และมูลของสัตว์ปีก
อาการและวิธีการติดต่อจากสัตว์สู่คน
สัมผัสสัตว์ป่ วยโดยตรง หรือสัมผัสกับ น้ำมูก น้ำลายโดยเฉพาะมูลสัตว์ป่วย
อาการคล้ายโรคไข้หวัดใหญ่ ระยะฟักตัว 1-3 วัน ผู้ป่วยจะมีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย พบในผู้ป่วยเด็ก ผู้สูงอายุ ภูมิคุ้มกันไม่ดี อาการปอดบวมรุนแรง
การรักษา
ผู้ใหญ่ : Oseltamivir (75มก./เม็ด) 1เม็ด เช้า-เย็น นาน 5 วัน
โรคไข้หวัดใหญ
-สาเหตุ: Influenza virus มี 3 ชนิด คือ A,Bและ C -ชนิด A เป็นชนิดที่ทำให้เกิดการระบาดอย่างกว้างขวางทั่วโลก -ชนิด B ทำให้เกิดการระบาดในพื้นที่ระดับภูมิภาค -ชนิด C มักเป็นการติดเชื้อที่แสดงอาการอย่างอ่อนหรือไม่แสดงอาการไม่ทำให้เกิดการระบาด
-ระยะฟักตัว: 1-4 วัน เฉลี่ย 2 วัน
-การติดต่อ: ไอ จาม หายใจฝอยละอองเข้าไป ได้รับเชื้อทางอ้อม
-อาการ: ไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ปวดเมื้อยกล้ามเนื้อ ไอแห้งๆคัดจมูกน้ำมูกไหล อาการต่างๆ เหล่านี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว อยู่นาน 6-10 วัน
-การรักษา: ให้การรักษาตามอาการและจะพิจารณาให้ยาต้านไวรัส ยาโฮเซลทามิเวียร์(Oseltamivir)
สำหรับผู้ใหญ่ เด็กโต เด็กเล็ก
การวินิจฉัย
ตรวจหาไวรัสโดยการแยกเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ได้จาก
1.คอหอย หรือ สารคันหลั่งจากจมูกหรือน้ำล้างโพรงจมูก
แยกเชื้อได้จาก
Culture,2. การตรวจแยกสาร Antigen ของไวรัสโดยตรงในเซลล์จากโพรงจมูก (FA หรือ ELISA) ชุดทดสอบเร็ว
การเพิ่มจำนวน RNA ของไวรัส โดยการตรวจหา Antibody titer ใน paired serumpaired serum ในระยะเฉียบพลันและระยะฟื้นตัวจากโรค
โรคไข้หวัดใหญ่ที่มีภาวะแทรกซ้อน
1.ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบทางเดินหายใจ พบได้ในทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงาน สูงอายุ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคเกี่ยวข้องกับหลอดลม หรือปอดยิ่งอัตราย ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบทางเดินหายใจ
Bronchiolitis
Hypoxemia,Asthma
Influenzal pneumonia,Tracheo-bronchits
2.ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด -พบได้ในทุกกลุ่ม -หากผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจอยู่เดิมจะมีภาวะแทรกซ้อนทางปอดในอัตราที่สูง -ภาวะแทรกซ้อนที่หัวใจโดยตรง ได้แก่ Myocarditis พบการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย เช่น เสียงหัวใจ อัตราการเต้นของหัวใจ,ผู้ที่ไม่เคยเป็นโรคหัวใจอยู่เดิมอาจพบว่ามี Congestive heart failure ได้ ในผู้สูงอายุพบว่า มีความดันโลหิตลดต่ำลง และเสียชีวิต
-ผู้ที่เสี่ยงสูงที่จะได้รับอัตรายในการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อระบบหัวใจ ได้แก่ ผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ผู้ที่ป่วยเป็น ischemic heart disease -ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดที่พบได้ เช่น Myocarditis,Heart Failure,Myocardial infraction
ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบประสาท ส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยเด็ก ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบประสาทที่พบ อาการทางจิต
Guillain-Barre syndrome, Focal neurologic deficits
Focal neurologic deficits,Acute disseminated encephalomyelitis
Encephalitis,Encephalopathy
Transverse myelitis
มาตราการ การป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และวิเคราะห์ความเสี่ยง การเกิดโรคระบาด เตรียมพร้อมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วทั่วปีประเทศ และควบคุมโรคเบื้องต้น การให้วัคซีนในกลุ่มเสี่ยง เตรียมพร้อมและสนับสนุนเวชภัณฑ์ที่จำเป็น เช่น ยาต้านไวรัส
สื่อสารความเสี่ยง ให้กับประชาชนตามช่องทางสือสารตางๆ คำแนะนำสถานที่รวมตัวคนหมู่มาก เช่น สถานศึกษา ค่ายทหาร เรือนจำ บุคากรทางการแพทย์
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย
3 more items...
ไข้ปวดข้อยุงลาย
โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya) โรคติดต่อนำโดยยุงลายมีอาการสำคัญคือ ข้อบวม และข้ออักเสบ จนเกิด การผิดรูป ชิคุนกุนยำไวรัส เป็นไวรัสชนิดมีแมลงเป็นพำหะโรค (Arbovirus) โดยรังโรค คือ ลิง หนู นก แต่ในช่วงมีกำรระบำดของโรค รังโรค คือ คน
เป็นโรคพบได้ในทุกทวีป ทั้ง แอฟริกำ เอเชีย ยุโรป และ อเมริกำ พบในประเทศไทยพบในเด็กบ้างราย มีการระบาดได้บ่อยในภาคใต้
การแพร่ติดต่อโรค :
ยุงลายบ้าน Aedes aegypti มักเป็นสำเหตุการระบาดในเขต
เมือง
ยุงพาหะนำโรค ยุงลายบ้าน ยุงลายสวน
ระยะฟักตัวของโรค :2-12 วัน (โดยทั่วไป 4-7 วัน)
อาการของโรค
ไข้เฉียบพลัน (มักมีไข้สูง 39-40
C แต่บำงรำยก็เป็นไข้ต่ำได้), ปวดศีรษะมำก คลื่นไส้ อำเจียน อ่อนเพลีย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอำกำรปวดข้อ ข้อบวม
แดงอักเสบและเจ็บ , หลังจำกนั้นจะเกิดผื่นบริเวณลำตัวและแขนขา มักไม่คัน
ไข้อาจจะหายในระยะนี้ (ระยะ 2-3 วันหลังเริ่มป่วย) ผื่นนี้จะลอกเป็นขุยและ
หำยได้เองภำยใน 7-10 วัน
พบต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอโตได้บ่อย
อาการปวดข้อจะหายภายใน 2-3 วัน
มีอาาการแทรกซ้อนไม่รุนแรงที่ตำ ระบบประสาท หัวใจ และทางเดินอาหาร
การวินิจฉัยโรค :
Enzyme-linked immunosorbent assays (ELISA)มักจะสูงสุดช่วง 3-5 สัปดาห์หลังเริ่มป่วย
และคงอยู่นานประมำณ 2 เดือน
RT-PCR (Reverse transcriptase–polymerase
chain reaction) มีการใช้กันมำกขึ้นในปัจจุบัน
การรักษา
ไม่มีการรักษาจำเพราะใช้การรักษาตามอาการ โยเฉพาะอาการปวดข้อ กินยา พาราเซตามอลเพื่อลดไข้
ห้ามกินยาแอสไพริน รวมถึงNSAID อื่น เช่น Ibuprofen เนื่องจากอาจทำให้เกิดเลือดออกได้ง่าย
เช็ดตัวด้วยน้ำสะอาดเป็นระยะเพื่อช่วยลดไข้ รวมทั้งให้ผู้ป่วยดื่มน้ำและนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
มาตราการการป้องกันโรค
สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ และให้สุขศึกษาแกชุมชน
สำรวจแหล่งเพาะพันะุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน เพื่อประเมินความชุกชุมของยุงเพื่อแนะนำวิธีการควบคุมและ กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลายแก่ประชาชน เช่น ปิดฝาโอ่ง
เปลี่ยนน้ำในจานรองขาตู้ แจกัน ทุกๆ 7วัน ปล่อยปลากินลูกน้ำในอ่างบัว ภาชนะที่อาจมีไข่ยุงติดอยู่ คว่ำกะลา กำจัดยางรถยนต์เก่า หรือนำไปแปรสภาพและใช้ประโยชน์
นอนในห้องมุ้งลวด นอนกางมุ้ง
เปิดพัดลม กรใช้ยากันยุง ยาทากันยุง ฉีดพ่นสารเคมี กำจัดยุง
ในเวลากลางวัน และโพล้เพล้อย่าอยู่ในบริเวณที่มืด อับชื้น อับลม เพราะยุงลายมักออกหากิน
Zika virus disease (โรคติดเชื้อไวรัสซิกา)
มียุงลายเป็นแมลงนำโรค
ระยะฟักตัว 3-12 (เฉลี่ย 4-7 วัน) ในคน และ 10 วัน ในยุง มีลิงเป็นแหล่งรังโรค
ปัจจุบันพบการระบาดในสามทวีป ได้แก่ ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปอเมริกา
การวินิจฉัย : viral culture, PCR, PRNT, (IgM มี cross reaction มากกับ flavivirus ตัวอื่น จึงไม่นิยมใช้ ภาวะแทรกซ้อนที่พบ คือ microcephaly ในทารกแรกเกิด ที่มารดามีประวัติติดเชื้อ
-สาเหตุ: Zika virus อยู่ในกลุ่มของ Flavivirus
-ระยะฟัก: 3-12วัน โดยเฉลี่ย 4-7 วัน
-พาหะนำโรค:ยุงลาย (Aedes aegypti)
-การติต่อ: การติดต่อที่สำคัญที่สุด คือ การถูกยุงลายที่มีเชื้อกัด
-การติดต่อจากแม่สู่ลูกผ่านทาง Intrauterine และ Perinatal
-ช่องทางอื่นๆ คือ ทางเลือด ทางเพศสัมพันธ์ การสัมผัสเชื้อทางห้องปฏิบัติการ
ช่องทางอื่นๆ ที่เป็นไปได้ทางทฤษฏี คือ Organ หรือ tissue transplantation นมแม่
ระยะเวลาที่ตรวจพบเชื้อ Zika virus ในแต่ละส่วนของร่างกาย
เลือด,น้ำลาย: 5 – 7 วัน,
ปัสสาวะ:<30วัน,น้ำอสุจิ:อย่างน้อย 2 เดือน
น้ำไขสันหลัง: ในช่วงแรกของผู้ที่มีอาการ meningoencephalitis
น้ำคร่ำ: ถึงคลอด,ทารกตายในครรภ์:พบในการผ่าศพทารก,น้ำนมแม่:ติดเชื้อในช่องคลอด
อาการ
ผื่น ไข้ เยื่อบุตาอักเสบ
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ
อาการป่วยจะปรากฏอยู่เพียง4-5วัน มักจะมีอาการไม่เกิน 1 สัแดาห์
อาการผิดปกติที่พบในทารก
ทารกศีระเล็ก
ทารกตายในครรภ์
พบแคลเซียมเกาะในสมอง
การมองเห็นผิดปกติ
ทารกตัวเล็กกว่าอายุครรภ์
GBS(Guillain-Barre syndrome)
โรคที่เกิดการอักเสบของเส้นประสาท สาเหตุจากภาวะภูมิคุ้มกันแปรปวน ทำให้แขนขาอ่อนแรง 2 ข้าง อาการชาร่วม ความผิดปกติของกล้ามเนื้อใบหน้า
ถึงแม้ได้ IVIG เพิ่มขึ้นเรื่อยๆระยะหนึ่ง, อาจต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ
ใส่เครื่องช่วยหายใจ ในGBSทั้วๆไป การตอบสนองต่อ IVIG ประมาณ 2 ใน 3 ราย
การรักษาด้วย IVIG ผลดีกว่าใน placebo,ต้องให้ใน 10 วันแรกเริ่มมีอาการ
ในสถานการณ์ที่ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด อัตรายยังมีถึง 5%
การรักษา
จะเป็นการรักษาแบบประคับประคอง การตรวจวินิจฉัยไวรัสซิกาทางห้องปฏิบัติการทำโดยการตรวจ สารพันธุกรรมได้ 2 วิธี
In-house (US-CDC) protocol
Altona kit (RealStar Zika Virus RT-PCR Kit 1.0)
การป้องกันควบคุมโรค
ด้านการสื่อสารความเสี่ยง
การกำจัดลูกน้ำ
การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่
แจกยาทากันยุงและพ่นกำจัดยุงตัวแก
การจัดระบบเพื่อติดตามผู้สัมผัส และหญิงตั้งครรภ์ในระยะที่อยู่ระหว่างการควบคุมโรค
คำแนะนำสำหรับประชาชนทั่วไป: สวมใส่เสื้อผ้าเนื้อหนาสีอ่อนๆ,กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
Leptospirosis (โรคฉี่หนู)
Herpes simplex
Primary Lesions
Bulla
ตุ่มน้ำใสของผิวหนังหรือเยื่อบุ ขนาดใหญ่กว่า 1 ซม.
โรคไฟลามทุ่ง (erysipelas) และโรค cellulitis
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียเฉพาะที่ของชั้นผิวหนัง ทำให้เกิดการอักเสบแบบ non-necrotizing
โรคไฟลามทุ่งจะเกิดในชั้น dermis และ upper subcutaneous tissue
อาการ
มีอาการบวม แดง ร้อน
มักจะมีไข้หรืออาการของการอักเสบ
อาศัยจาก ประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจห้องปฏิบัติการ
พบรอยโรค cellulitis เกิดใกล้กับผิวหนังส่วนที่ได้รับภัยอัตรายหรือเป็นแผล
อาจจะพบเชื้อเข้าของเชื้อ เข่น บริเวณง่ามนิ้วเท้า แผลกดทับ
อาจจะเกิดโรคซ้ำจาก การมีปัญหาvenous หรือ lymphatic drainage
การตรวจร่างกาย
โดยจะลามขึ้นอย่างรวดเร็ว
มักจะร่วมกับการมีไข้สูง หรือหนาวสั่น
อาจมีหนึ่งรอยโรค หรือ อาจจะมีจำนวนมากกว่าหนึ่งโรค
แดง กดเจ็บ ปวดบวมและร้อน
การตรวจร่างกาย การตรวจห้องปฏิบัติการ
CBC, ESR, Gram stain,Culture
ไฟลามทุ่ง:Erisypelas
ผื่นจะเป็นปื้นสีแดง ขอบเขตชัดเจน
ผื่นนูนและบวมเป็นมันดู คล้ายผิวเปลือกส้ม
สีของผื่นอาจจะเปลี่ยนเป็นสีแดงลามกว้างถึง 2-10cm
อาจพบรอยโรคสีแดงเกิดจากการอักเสบของหลอดน้ำเหลือง (lymphangitis)
การรักษา
dicloxacillin, cephalexin, clindamycin หรือ erythromycin
ในกรณีของ cellulitis ที่เกิดจำกแผลทิ่มแทง (penetrating trauma) หรือมี collection กำรใช้ dicloxacillin, cephalexin,clindamycin
ในกรณีที่ผู้ป่วยแพ้ยา penicillin อาจเลือกใช้ยา clindamycin ขนาด 300มิลิกรัม วันละ 3เวลา
Pustule
vesicle หรือ bulla ที่ภายในบบรจุด้วยหนอง
Vesicle
ตุ่มน้ำใสของผิวหนังหรือเยื่อบุ ขนาดไม่เกิน 1 ซม.
อาการ
ผู้ป่วยมีอาการปวดแสบร้อนบริเวณผิวหนัง
หลังจากนั้น 2-3วัน มีผื่นแดงตรงบริเวณที่ปวด กลายเป็นตุ่มน้ำใส
ผู้ป่วยบางรายอาจมีไข้ร่วมด้วย,ผื่นมักเรียงกันเป็นกลุ่ม แถวยาวตามแนวเส้นประสาท
จะแตกออกเป็นแผล ต่อมาจะตกสะเก็ดหายเองได้ใน 2 สัแดาห์
เมื่อแผลหายแล้ว อาจยังมีอาการปวดตามแนวเส้นประสาทได้
1. วัคซีนงูสวัดสำหรับเด็ก
คือวัคซีนอีสุกอีไส (Chickenpox vaccine)
เด็กต้องรับวัตซีนทั้งหมด 2เข็ม เข็มแรกมักต้องฉีดตั้งแต่อายุ 12-15 เดือน เข็มสองฉีดเมื่ออายุ 4-6 ปี
ผลข้างเคียงของเด็กที่ได้รับวัคซีนอาจมีไข้ มีผื่นในช่วงแรกๆ ปวดตามข้อ
2.วัคซีนงูสวัดสำหรับผู้ใหญ่ มี 2 ชนิด
Zostavax
เชื้อเป็น
ฉีดเพียงเข็มเดียว (เข็มละ 0.65 มิลลิลิตร)
Shingrix
เชื้อตาย
CDC แนะนำให้ฉีด 2เข็ม (เข็มละ 0.5 มิลลิลิตร)
โดยเว้นระยะห่างกันระหว่าง 2-6เดือน
เริม : การรักษาและการปฏิบัติตัว
ถ้ามีไข้>>เช็ดตัวลดไข้+กินยา paracetamol,ถ้ามีแผลในปาก>>ใช้นำ้เกลือกลั้วปาก
ตัดเล็บสั้น ไม่เเกะ/เกา
โรคส่วนใหญ่ ไม่รุนแรง+หายเองได้,ควรพักผ่อน+ดื่มน้ำมากๆ
แผล<<,ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำเกลือ/น้ำต้มสุก ประคบทำความสะอาดแผล
ยาต้านไวรัส Acyclovir
กินยาภายใน 48 ชั่วโมงหลังมีอาการนำ
-ลดระยะเวลาการเกิดโรค,-ลดการแพร่เชื้อ
-ลดระยะเวลาเจ็บปวด ยามีผลข้างเคียงต่อไต
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ควรหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้น
ถ้าเป็นซ้ำ>6ครั้งต่อปีหรือ เริมที่เป็นซ้ำอาการรุนแรงหรือการเป็นซ้ำมีผลคุณภาพชีวิต ควรปรึกษาแพทย์พิจารณากินยาต้านไวรัส
ระยะแพร่เชื้อติดต่อให้ผู้อื่น คือ ตั้งแต่เริ่มมีอาการนำ จนกระทั่งแผลหายตกสะเก็ด
หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผล น้ำลาย สารคัดหลั่ง
Common Skin Diseases
เกลื้อน (Pityriasis versicolor หรือ Tinea versicolor)
โรคเชื้อราของผิวหนังชั้นตื้น เกิดจากเชื้อรา Malassezia furfur
พบได้ตามผิวหนังของคนทั่วไป เชื้อราชนิดนี้พบได้ในบริเวณผิวหนังที่มีต่อมไขมันมาก เช่น หน้า ต้นคอ หน้าอก หลัง
ปัจจัยที่ส่งเสริมการเกิดเกลื้อน
ช่วงอายุ ช่วงวัยรุ่นพบได้บ่อยเพราะเป็นวัยที่ต่อมไขมันทำงานมากมีการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนในร่างกาย
พันธุกรรม เช่น คนมีอัตราการหลุดลอกของผิวหนังช้ากว่าปกติ คนที่มีผิวมันจะมีโอกาสเป็นเกลื้อนมากกว่าคนปกติ
ผู้ที่ปฏิบัติงานในสถานที่ร้อนอบอ้าว มีเหงือออกมาก
สภาวะทุพโภชนาการ ภาวะอื่นๆ
ยาที่ใช่รักษาภายยนอก
Selenium sulfide
2.zinc pyrithione Ketolytic agent
Mild fungicide
bifonazole, clotrimazole, econazole, miconazole,terbinafine, sertaconazole
ยาที่รับประทาน
Ketoconazole (ควรหลีกเลี่ยงเนื่องจากปัญหาตับอักเสบ)
Itraconazole
เชื้อรากลุ่ม Dermatophytes
1. Tinea capitis
(โรคกลากที่หนังศรีษะ)
โรคเกิดบริเวณหนังศรีษะก่อนแล้วจึงเข้าไปในเส้นผม
ผื่นมีขุย (scale), ผมร่วง เส้นผมหัก มีspore
การรักษา Tinea capitis
การรักษา: topical treatment ใช้ไม่ได้ผล
griseofulvin ให้ขนาด 15-20 mg/kg/d ในรายที่ไม่ได้ผลอาจต้องเพิ่มขนาดเป็นถึง 30 mg/kg/d ให้นาน 6-8 สัปดาห์ (มีปัญหาตัวอักเสบได้ เริ่มดื้อยาทำให้ผลการรักษาแย่ลงกว่าสมัยก่อน)
โรคกลากบริเวณ non-hairy area
ตรงกลางมี central clearing (annular lesion) กลายเป็นสีคร่ำ (iris lesion)
มีอาการคันมาก ไม่รักษาผื่นจะลามออกไป ตรวจหาเชื้อKOH
ผื่นมีได้หลายแบบแต่ที่พบบ่อยที่สุดคือวงแดงขอบเขตชัดเจนมีตุ้มน้ำใสเล็กๆ
การรักษา
topical treatment
systemic treatment
Griseofulvin 500 mg/d นาน 3 สัปดาห์
ในรายที่แพ้ griseofulvinให้ 1. Itraconazole 100 mg/d นาน 2 สัปดาห์
Tinea cruris
บริเวณ genital, pubic, perineal, perianal area
พบบ่อยในผู้ชาย โดยเฉพาะบริเวณขาหนีบและต้นขา,มักไม่เป็นที่บริเวณอัณฑะ
การรักษา
ใช้ยาในกลุ่ม Imidazole cream ทานวันละ 2 ครั้ง
Itraconazole 100 mg/day นาน 2 สัปดาห์
Topical treatment ได้ผลดี ยกเว้นใน chronic hyperkeratotic type
Systemic treatment
มักเกิดที่บริเวณซอกระหว่างนิ้วก้อยและนิ้วนางของเท้า
ผื่นมีลักษณะเป็นขุย
Tinea unguium (โรคเชื้อกลากที่เล็บ)
โรคเชื้อราที่เล็บมักพบในผู็ใหญ่ ในเด็กพบน้อย เนื้องจากเด็กเล็บงอก เร็ว พบบ่อยที่สุด เชื้อจะเข้าทางปลายเล็บ ทำให้เกิดขุยหนาใต้เล็บและตัวเล็บหลุดออกจากพื้นเล็บ
การรักษา
เหมือนกับยาเชื้อราทั่วไป
สาเหตุของ Contact Dermatitis
Allergic contact dermatitis
1 more item...
Irritant contact dermatitis
สารที่สัมผัสมีฤทธิ์ระคายเคืองสูง
-ผิวหนังอักเสบ ระยะเฉียบพลัน (Acute stage)
ผื่นระยะปานกลาง(Subacute Stage)
ผื่นระยะเรื้อรัง ( Chronic Stage)
Urticaria
ลักษณะ
อาการบวมที่ผิวหนัง (wheal)
คันอย่างรุนแรง เกิดขึ้นพร้อมหรือทยอยเกิดขึ้นหลายแห่ง
ผื่นมีขนาด รูปร่าง แตกต่างกันได้มาก
เกิดขึ้นกับส่วนใดของร่างกาย เกิดเต็มที่แล้วจะค่อยๆ
การวินิจฉัย
สาเหตุและการักษามากกว่า แพทย์ควรซักประวัติเกี่ยวกับยา ผู้ป่วยได้รับก่อนที่จะเป็นลมพิษ กรณีผู้ป่วยที่เป็น Vasculitis หรือ Connective tissue disease
กาารักษา
ลมพิษระยะเฉียบพลัน
ยาทาภายนอก Calamine lotion ประคบความเย็นเพื่อลดอาการคัน
ยารับประทาน Chlorpheniramine( CPM) 4 mg 1 เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง รายที่กินแล้วง่วงอาจให้ Loratadine 10 mg 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
ในรายที่มี Angioedema ( มีอาการบวมบริเวณหนังตา ใบหน้า ปาก) ควรระวังปฏิกิริยา Anaphylaxis ควรพิจารณาให้ Epinephrine 1:1,000 ขนาด 0.3-0.5 ml ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ติดตามดูอาการรอย่าใกล้ชิด
ลมพิษเรื้อรัง
พยายามหาสาเหตุและกำจัดสาเหตุ รายที่ไม่ทราบสาเหตุควบคุมอาการให้ยารับประทานในขนาดที่เหมาะสม
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้เกิดลมพิษได้ เช่น ความร้อน เสื้อผ้าที่คับ แน่น แอลกอฮอล์ ยา Aspirin
กลุ่มอาการปวดศรีษะ
การปวดศรีษะอย่างเดียว และตรวจไม่พบความผิดปกติอย่างอื่น สาเหตุ: functional headache เช่น migraine muscle contraction headache, psychogenic
headache ผู้ป่วยปวดศีรษะ และ PE ไม่พบความผิดปกติ มีส่วนน้อยที่เป็น organic headache
2.การปวดศีรษะ โดยมีความผิดปกติ ของโรคทางกายอื่นๆ - อาจเกิดจากโรคบริเวณศีรษะ เช่น โรคตา โรคหู โรคฟัน โรคบริเวณหนังศีรษะ โรคทางกายอื่นๆ เช่น hypoglycemia
3.การปวดศีรษะที่ตรวจพบความผิดปกติ หรือ มีประวัติของโรคทางระบบประสาทส่วนกลาง หรือ มีอาการ หรือ อาการแสดงของการระคายเคืองต่อเยื่อหุ้มสมอง (Structural causes) -กลุ่มนี้ ส่วนใหญ่ เป็น organic headache ที่เกิดจากพยาธิสภาพในกะโหลกศีรษะ เช่น ก้อนในโพรงกะโหลกศีรษะ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ Subdural hematoma Subarhachnoid hemorrhage Brain abscess
4.การปวดศีรษะจากสมอง ที่ไม่มีสิ่งกินที่ (Non-Structural causes) 4.1 Giant cell arteritis temporal cell arterits หรือ temporal cell arterits พบในผู้ใหญ่อายุ> 50 ปี (โดยมาก> 65 ปี ) อาการปวดจะเฉลียบพลัน ค่อยๆเป็นรุนแรงแรงขึ้น เป็นเฉพาะที่ ตรวจพบ superficial tempotral artery บวม แข็ง ไม่เต้น มีอาการทางสมอง เช่น diplopia, visual loss ไข้ น้ำหนักลด ปวดเมื่อยกบ้ามเนื้อ เหงื่อแตก ESR > 50 mm/hr
Migraine
ปวดศีรษะเป็นๆ หายๆ ปวดแต่ละครั้งไม่เกิน 72 ชั่วโมง
อาการปวดศีรษะจะต้องร่วมกับ ความผิดปกติทางการมองเห็น หรือ อาการทางระบบทางเดินอาหาร
Promonitory symptom and sign
มักนำมาก่อนประมาณ 3 ชั่วโมงก่อนการปวดศรีษะ และ เกิดเร็วใน 1 ชั่วโมง หรือ เกิดก่อนนานจนถึง 2 วัน
สมาธิเสีย อารมณ์หงุดหงิด เก็บตัว ทำอะไร ว่องไว ทำอะไรซ้ำซาก คิดช้า ทำช้า ทำอะไรงุ่มง่าม
Migraine - Promonitory symptom and sign
ผู้ป่วยมีอาการหาวบ่อย ง่วงนอนมาก ทนต่อแสงเสียงไม่ค่อยได้
ผิวหนัง ไวต่อความรู้สึก ทนต่อการสัมผัสไม่ได้
นอนมาก เหนื่อนง่าย พูดไม่ชัด พูดน้อย กล้ามเนื้อคออาจตึง มีอาการอ่อนเพลียทั่วไป
หน้าซีด ขอบตาคล้ำ หนังตาหนักๆ
ลักษณะที่สำคัญใน migraine คือ
2.อาการปวดเหล่านี้ จะเป็นมาก เมื่อมีการเคลื่อนไหว ศีรษะ
3.อาการร่วม ขณะปวดศรีษะ เป็นอาการทางระบบประสาท อาการทางระบบประสาทอัตนโนมัติ
อาการปวดในตำแหน่งต่างๆ จะย้ายที่ได้ ย้าายข้างได้
อาการปวดศรีษะจะหายไป ภายหลังได้นอน 45 นาที ถึง 3 ชั่วโมง ภายหลังดื่มๆร้อน ภายหลังอาเจียน ได้ยาแก้ปวก
อาการที่สำคัญ คือ อ่อนเพลีย
บางรายอาจมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ ปวดกล้ามเนื้อ
อาการ euphoria มีอารมณ์ไม่แจ่มใส ขาดสมาธิ
ยา
Analgesic : Paracetamol, NSAIDs(naproxen), Mixed
analgesic preparation, Narcotics analgesic, Aspirin
ยาในการรักษาแบบป้องกัน
2.การเกิด attack แต่ละครั้ง รุนแรง
ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานยาในกลุมที่รักษา acute attack ไม่ได้ และ ต้องรับประทานยยาทุกวัน เป็นระยะเวลา 4-6 เดือน
มี acute attack บ่อย เช่น เกิน 2 ครั้งต่อเดือน
Amitryptyline 25-50 mg hs, Flunarizine(5) 2-10 mg hs
ยาป้องกันทางเลือกอื่นในกรณี ยา 2 ขนาด ไม่ได้ผล Propranolol
Antiserotonergics
Pizotifen(0.5) 4.5-9 mg/day
Methylsergide
Calcium channel antagonists เช่น Verapamil
Ergot based drug : ผลข้างเคียงพอสมควร ควรใช้ในการรักษา acute attack
ฝีดาษลิง
1 more item...
นางสาวสุมิตตา ช่อมะลิ เลขที่ 81 ปี 4