Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปความรู้สัปดาห์ที่ 5 - Coggle Diagram
สรุปความรู้สัปดาห์ที่ 5
-
Acute tonsillitis
-
-
การรักษา
การรักษาหลัก คือ การให้ยา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสาเหตุของการเกิดต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลันว่าเกิดจากไวรัสหรือแบคทีเรีย
-
-
การผ่าตัดจะทำในกรณีที่ป็นต่อทอนซิลอักเสบซ้ำบ่อย ๆ ต่อมทอนซิลอักเสบเรื้อรัง หรือมีภาวะแทรกซ้อน เช่น มีหนองลามเข้าไปในช่องคอส่วนลึกข้างต่อมทอนซิล
Avian Influenza
อาการ
เนื้อเยื่อรอบตาบวม เยื่อตาขาวอักเสบ มีอาการป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ (มีไข้ปวดเมื่อยตามร่างกาย) บางรายพบว่าทำ ให้ตายได้(พบน้อยมาก)
-
-
โรคไข้หวัดใหญ่
-
การวินิจฉัย
-
-
-
การเพิ่มจำนวน RNA ของไวรัส โดยการตรวจหา Antibody titer ใน paired serum ในระยะเฉียบพลันและระยะฟื้นตัวจากโรค
-
-
COVID-19
-
-
การรักษา
-
ผู้ที่มีอาการไม่รุนนแรง ไม่มีปอดอักเสบ ไม่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรรครุนแรง/โรรคร่วมสำคัญและภาพถ่ายรังสีปอดปกติ
-
หากตรวจพบเชื้อเมื่อผู้ป่วยมีอาการมาแล้วเกิน 5 วัน ผู้ป่วยไม่มีอาการหรืออาการน้อยอาจไม่จำเป็นต้องให้ยาต้านไวรัส
-
-
-
Zika virus
-
การวินิจฉัย
ส่งเลือดของทารกและมารดาตรวจ ZIKV IgM และ Dengue IgM หาก ZIKV IgM ให้ผลลบ ให้เก็บ plasma ครั้งที่สอง ของทารกอีกครั้ง ในอีก 3-4 สัปดาห์ เพื่อตรวจ ZIKV IgG และ Dengue IgG
ส่งปัสสาวะและเลือดของทารกและมารดา เพื่อส่งตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัส Zika โดยวิธี RT-PCR ถ้าทารกได้ทำการตรวจน้ำไขสันหลังตรวจ RT-PCR และ ZIKV IgM ด้วย
การรักษา
-
รักษาภาวะ congenital Zika syndrome คือ การติดตามอาการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเพื่อประเมินความผิดปรกติ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ โดยกุมารแพทย์หรือแพทย์ทั่วไป
Dengue
อาการ
- ระยะไข้ ผู้ป่วยจะมีไข้สูงเกือบตลอดเวลา เด็กบางคนอาจชัก เนื่องจากไข้สูง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง มักมีหน้าแดง และอาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลำตัว แขน ขา ระยะนี้จะเป็นอยู่ราว 2-7 วัน
- ระยะช็อค ระยะนี้ไข้จะเริ่มลดลง ผู้ป่วยจะซึม เหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจรเต้นเบาแต่เร็ว ปวดท้อง โดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกง่าย เช่น มีเลือดกำเดาไหล อาเจียนเป็นเลือด อุจจาระมีสีดำ ในรายที่รุนแรง จะมีความดันโลหิตต่ำ ช็อค และอาจถึงตายได้ ระยะนี้กินเวลา 24-48 ชั่วโมง
3.ระยะพักฟื้น อาการต่างๆจะเริ่มดีขึ้น ผู้ป่วยรู้สึกอยากรับประทานอาหาร ความดันโลหิตสูงขึ้น ชีพจรเต้นแรงขึ้นและช้าลง ปัสสาวะมากขึ้น บางรายมีผื่นแดงและมีจุดเลือดออกเล็กๆ ตามลำตัว
การวินิจฉัย
-
ตรวจภูมิคุ้มกันต่อไข้เลือดออก (IgM) , ตรวจ NS1 Ag ต่อเชื้อโดยตรง ตรวจ PCR เพื่อหาเชื้อไวรัสเดงกี
การรักษา
การลดไข้ด้วยการเช็ดตัวและกินยาลดไข้ รับประทานอาหารอ่อน และดื่มน้ำให้เพียงพอ ผู้ป่วยที่มีอาการโดยทั่วไปแย่ลงโดยเฉพาะเมื่อไข้ลดลง เช่น ซึม มือเท้าเย็น ชีพจรเต้นเบาเร็ว กระสับกระส่าย ปวดท้องรุนแรง อาเจียนเป็นเลือด ต้องรีบไปโรงพยาบาล
การรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่ดื่มน้ำได้ไม่เพียงพอ ปวดท้องหรืออาเจียนมาก มีภาวะเลือดข้น มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร หรือมีภาวะช็อก ควรรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ไข้มาลาเรีย
อาการ
ระยะหนาว (cold stage) เป็นเวลา 15-60 นาที ผู้ป่วยจะรู้สึกหนาวมาก มีอาการสั่นเกร็ง อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น ชีพจรเบาเร็ว ความดันเลือดเพิ่มขึ้น อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ระยะร้อน (hot stage) ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง โดยผู้ป่ วยมีอาการร้อน อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 39-40องศาเซลเซียส ชีพจรแรง ปวดกระบอกตา หน้าแดง ผิวหนังแดงและแห้ง กระหายน้ำ คลื่นไส้ อาเจียน กระสับกระส่ายและเพ้อ บางคนไม่รู้สติ
ระยะเหงื่อออก (sweating stage) ระยะนี้กินเวลาราว 1 ชั่วโมง ผู้ป่ วยเริ่มมีเหงื่อออกตามหน้า บริเวณขมับ และผิวหนังล าตัว ต่อจากนั้นอุณหภูมิร่างกายลดลงอย่างรวดเร็ว ผู้ป่ วยอ่อนเพลีย หลังจากนั้น เข้าสู่ระยะพัก คือ ระยะที่ผู้ป่ วยไม่มีอาการจับไข้ผู้ป่ วยรู้สึกสบายดี กินเวลาประมาณ 1-2 วันแล้วแต่ชนิดของเชื้อ แล้วจึงจับไข้อีก ดังนั้นระยะพักจึงกินเวลานานเท่ากับเวลาของวงจรชีวิตไร้เพศในเม็ดโลหิต
แดง
การวินิจฉัย
-
Thick film, Thin film (ควรตรวจคู่กัน)
การตรวจ Antigen, Antibody
-
-
การรักษา
การรักษาจำเพาะ
การให้ยา schizontocide กำจัดเชื้อมาลาเรียที่เป็น schizont ซึ่งเป็นระยะไร้เพศในเม็ดเลือดแดง การเลือกชนิดของยา schizontocide นั้น ควรพิจารณาประสิทธิภาพของยาต่อเชื้อมาลาเรีย ตามลักษณะการดื้อยาของเชื้อมาลาเรียในพื้นที่ต่างๆ กัน
-
การป้องกันการแพร่โรค
การใช้ยา gametocytocide ฆ่าเชื้อมาลาเรียระยะติดต่อ คือ gametocyte โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่อยู่ในท้องที่ที่มียุงเป็นพาหะ
Typhus
-
-
การรักษา
-
ยาอะซิโธรมัยซิน อาจใช้กับผู้ป่วยที่มีการดื้อยาและพบว่าอาจให้ผลดีกว่ายาดอกซีไซคลิน โดยเฉพาะกับผู้ป่วยวัยเด็กและผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์
Herpes simplex
อาการ
มีตุ่มน้ำใสขึ้นในบริเวณที่ติดเชื้อ หลังจากนั้นจะแตกออก แล้วเกิดเป็นแผล มีอาการปวดแสบ ปวดร้อนร่วมด้วย และหากเป็นที่อวัยวะเพศของผู้หญิงมักพบมีตกขาว ออกมามากกว่าปกติ
-
-
Herpes zoster
อาการ
-
-
-
-
เมื่อผ่านไปประมาณ 1 - 5 วันจะมีผื่นแดงอยู่เป็นกลุ่ม ต่อมาเป็นตุ่มน้ำใส มักจะขึ้นอยู่ซีกใดซีกหนึ่งของร่างกายตามเส้นประสาทที่เป็นโรค ตุ่มน้ำใสจะคงอยู่ประมาณ 5 วัน ต่อมาผื่นจะตกสะเก็ด และหายไปใน 2 - 3 สัปดาห์ ซึ่งอาจจะทิ้งรอยแผลเป็นไว้
-
การรักษา
-
Antiviral therapy
ยาต้านไวรัสงูสวัด ชนิด รับประทาน หรือ ให้ทางเส้นเลือด ปัจจุบันมีหลายตัว อาทิเช่น Acyclovir, Famciclovir, Valacyclovir
Leptospirosis
-
การวินิจฉัย
-
-
-
ตรวจการทำงานของตับ พบการอักเสบของตับโดยจะมีค่าSGOT,SGPT สูงขึ้น
ในรายที่รุนแรงการทำงานของไตจะเสื่อม ค่าCreatinin,BUN จะเพิ่มขึ้น
-
-
การรักษา
ผู้ที่มีอาการรุนแรง
ควรให้ยาpenicillin,tetracyclin,streptomycin,erythromycin เป็นยาที่ใช้ได้ผลในโรคนี้ และควรจะได้รับยาภายใน 4-7 วันหลังเกิดอาการของโรค
-
Cellulitis
-
-
การรักษา
การรักษาเฉพาะที่ ใช้ความอุ่นประคม นอนพัก ยกบริเวณที่เป็นให้สูงขึ้นถ้าที่เป็นหนองควรเจาะ หรือผ่าระบายหนองออก ส่งย้อมสีกรัมและเพาะเชื้อ
Penicillin 100,000 หน่วย/กก./วัน นาน 10 วัน
-
-
Monkeypox
-
การวินิจฉัย
-
Probable case
ไม่มีประวัติสัมผัส Orthopoxvirus และไม่มีประวัติได้รับวัคซีนป้องกันโรค smallpox เมื่อเร็วๆนี้มาก่อน แต่ ตรวจพบ orthopoxvirus จากรอยโรคโดยวิธี polymerase chain reaction (PCR) หรือวิธี immunohistochemical หรือ พบทาง electron microscope หรือ - ตรวจพบ anti-orthopoxvirus IgM antibody ในช่วง 4 วัน – 56 วันหลังเกิดผื่น
Confirmed case
ตรวจพบ monkeypox virus DNA จากรอยโรค โดยวิธี PCR หรือ การเพาะเชื้อ Epidemiologic criteria คือ ภายใน 21 วันก่อนมีอาการ
-
การรักษา
ปัจจุบันยังไม่มียารักษาจำเพาะสำหรับโรค Monkeypox แต่อาจจะสามารถรักษาด้วยยาที่ใช้รักษาโรค smallpox ได้แก่ tecovirimat, cidofovir, vaccinia immune globulin intravenous (VIGIV), brincidofovir ได้
อย่างไรก็ตาม องค์การยาแห่งสหภาพยุโรป (European Medicines Agency) ได้อนุมัติให้ยา tecovirimat ให้ใช้รักษาโรค monkeypox ได้แล้ว ยาชนิดนี้ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งการปล่อยเชื้อไวรัสออกจากเชล
Migraine
-
-
การรักษา
-
-
Analgesic : Paracetamol, NSAIDs(naproxen), Mixed analgesic preparation, Narcotics analgesic, Aspirin
Ergot based drug : มีผลข้างเคียงพอสมควร จึงควรใช้ในการรักษา acute attack ที่รุนแรงและนานๆเป็นสักครั้ง
-
Sumatriptan – 5HT1- like agonist drug ใช้รักษาอาการSumatriptan – 5HT1- like agonist drug ใช้รักษาอาการ
กลุ่มอาการเวียนศีรษะ
-
-
-
การรักษา
การให้ยา เช่น ยากดการรับรู้ของประสาทการทรงตัว, ยากดการทำงานระบบประสาท, ยาแก้คลื่นไส้ อาเจียน, ยาขยายหลอดเลือด ฯลฯ
การฝึกบริหารการทรงตัว เช่น บริหารสายตา, บริหารกล้ามเนื้อ คอ แขน ขา, ฝึกการเคลื่อนไหวศีรษะและคอ, ฝึกการเดิน, ฝึกการยืน ฯลฯ
การรักษาตามโรคที่พบ เช่น หากเป็นโรคเรื้อรังต้องควบคุมโรคให้ดี หากเป็นโรคเกี่ยวกับหูต้องระวังการติดเชื้อของหูและการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน เป็นต้น
-
Tinea Capitis
-
-
การรักษา
ใช้ยาสระผมที่มีส่วนผสมของยาขจัดรังแค หรือยาฆ่าเชื้อรา เช่น Selenium Sulfide, Zinc Pyrithione, และ Ketoconazole Shampoo เป็นต้น
-
-
-
โรคผิวหนังอักเสบ
อาการ
-
ระยะปานกลาง
ผื่นแดงน้อยยกว่าระยะเฉียบพลัน ประกอบด้วยตุ่มแดง อาจมีตุ่มน้ำเล็กน้อย มีสะเก็ดและขุย อาจมีรอยแตกเป็นร้อง
-
การวินิจฉัย
ใช้เพียงตาเปล่าตรวจดู ประกอบกับการสอบถามอาการของผู้ป่วย แต่บางครั้งอาจเก็บตัวอย่างผิวหนังส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือใช้การทดสอบอื่น ๆ
-
Urticaria
อาการ
ผื่นมีขนาดตั้งแต่เล็กจนถึงใหญ่มีลักษณะปื้นนูนแดงคันไม่มีขุยขอบเขตชัดเจนผื่นกระจายอย่างรวดเร็วมีทั้งวงกลมรีวงแหวนทั้งแขนขาใบหน้ารอบดวงตาปากผู้ป่วยบางคนอาจปากบวมและตาบวมร่วมด้วย
-
การรักษา
-
ยารับประทาน
Chlorpheniramine(CPM) 4 mg 1 เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง ในรายที่กินแล้วง่วงมากอาจให้ Loratadine 10 mg 1 เม็ดวันละ 1 ครั้ง