Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นพิษจากโลหะ - Coggle Diagram
ความเป็นพิษจากโลหะ
ประเภทของโลหะ
-
ความหนาแน่นของโลหะ
โลหะหนัก (Heavy Metal)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
คุณสมบัติของโลหะหนัก
-
- สามารถเปลี่ยนเป็นสารประกอบเชิงซ้อนได้
- สามารถตกตะกอน หรือ เป็นอนุภาคคอลอยด์ในน้ำได้
คือกลุ่มธาตุที่มีความหนาแน่นมากกว่า 5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตรและความถ่วงจำเพาะสูงกว่า 4 น้าซึ่งมีความหนาแน่นเท่ากับ 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งแสดงว่าคุณสมบัติเบื้องต้นของโลหะหลักคือจมน้ำ
ส่วนใหญ่เป็นธาตุที่อยู่ในกลุ่ม Transition metals ซึ่งเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต โลหะหนักเป็นสารที่คงตัว ไม่สามารถสลายตัวได้ในกระบวนการธรรมชาติ จึงมีบางส่วนตกตะกอนสะสมอยู่ในดิน ดินตะกอนที่อยู่ในน้ำ รวมถึงการสะสมอยู่ในสัตว์น้า
ธาตุที่จัดเป็นโลหะหนักมีทั้งหมด 22 ชนิดได้แก่ ทองแดง เงิน ทองคำ ทองคาขาว สังกะสี ตะกั่ว ดีบุก โครเมียม ทังสเตน พลวง แคดเมียม ปรอท บิสมัส พลวง ไททาเนียม แทนทาลัม โคบอลต์ ยูเรเนียม นิเกิล แมงกานีส โมลิเดียม และเบอร์มัสเนียม
-
การกิน
- การสูดดมเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
โดยผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง ได้แก่ – ผู้ที่ทางานในเหมืองแร่
– ผู้ที่ทางานในโรงงานหลอมแร่หรือโลหะ – ผู้ที่ทำงานในโรงงานเชื่อมหรือบัดกรี
โลหะที่ซึมเข้าสู่ผิวหนังมักเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก และมีโอกาสเกิดขึ้นน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับช่องทาง 2 อย่าง ข้างต้น แต่ก็พบมีโอกาสเกิดขึ้นได้ ได้แก่
การสัมผัสไอโลหะหนักในโรงงานอุตสาหกรรมหรือโรงถลุงแร่ – การแช่น้าหรืออยู่ในแหล่งน้าที่มีโลหะหนักปนเปื้อนสูง
-
-
-
พิษแบบเฉียบพลัน
-
-
การได้รับโลหะเข้าร่างกายในปริมาณสูงทาให้มีการสะสมโลหะที่ความเข้มข้นสูงแล้วร่างกายมีโอกาสกาจัดออกได้น้อยทาให้เกิดพิษแบบเฉียบพลัน
การรักษาพิษแบบเฉียบพลันของโลหะทาได้โดยเร่งการขับถ่ายโลหะ ป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับอวัยวะหรือเนื้อเยื่อแบบถาวร
พิษแบบเฉียบเรื้อรัง
-
การวินิจฉัยการเกิดพิษแบบเรื้อรังทาได้โดยวิเคราะห์ว่ามีโลหะในเลือดหรือปัสสาวะ ระบบเลือด ระบบภูมิคุ้มกัน และมีรสโลหะในปาก
อาการพิษแบบเรื้อรังได้แก่ การทางานของกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน กลืนอาหารลาบาก การมองเห็น การได้ยิน รู้รส ดมกลิ่นสูญเสียไป
การรักษาพยาบาลแบบเรื้อรัง ทาได้โดยลดการสะสมของโลหะในร่างกาย ป้องกันอันตรายต่ออวัยวะและเนื้อเยื่อถาวร
พิษแบบเฉียบเรื้อรัง
-
การวินิจฉัยการเกิดพิษแบบเรื้อรังทาได้โดยวิเคราะห์ว่ามีโลหะในเลือดหรือปัสสาวะ ระบบเลือด ระบบภูมิคุ้มกัน และมีรสโลหะในปาก
อาการพิษแบบเรื้อรังได้แก่ การทางานของกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน กลืนอาหารลาบาก การมองเห็น การได้ยิน รู้รส ดมกลิ่นสูญเสียไป
การรักษาพยาบาลแบบเรื้อรัง ทาได้โดยลดการสะสมของโลหะในร่างกาย ป้องกันอันตรายต่ออวัยวะและเนื้อเยื่อถาวร
-
กลไกการเกิดพิษ
- ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ ทาให้เอนไซม์ทางาน ผิดปกติ โดยโลหะหนักหรือสารประกอบของโลหะหนักจะ จับกับหมู่ sulfhydryl (-SH) ในโครงสร้างโปรตีนของ เอนไซม์ 3. การเกิดมะเร็ง และการกลายพันธุ์ เนื่องจากโลหะหนักหรือ สารประกอบโลหะหนักสามารถเข้าจับกับโปรตีนของกรด นิวคลีอิกที่เป็นสารสาหรับการสังเคราะห์ DNA จนทาให้การ สังเคราะห์ DNA ผิดปกติทาให้เสี่ยงต่อการเกิดเซลล์มะเร็ง หรือการกลายพันธ์ได้สูง
- ยับยั้งการขนส่งออกซิเจนหรือการจับออกซิเจนของ ฮีโมโกลบิน เช่น ตะกั่วสามารถยับยั้งการทางานของ เอนไซม์สาหรับการสร้างฮีโมโกลบินที่ไขกระดูก ทาให้ป่วย เป็นโรคโลหิตจาง
- การเกิดมะเร็ง และการกลายพันธุ์ เนื่องจากโลหะหนักหรือ สารประกอบโลหะหนักสามารถเข้าจับกับโปรตีนของกรด นิวคลีอิกที่เป็นสารสาหรับการสังเคราะห์ DNA จนทาให้การ สังเคราะห์ DNA ผิดปกติทาให้เสี่ยงต่อการเกิดเซลล์มะเร็ง หรือการกลายพันธ์ได้สูง
Metal
คือวัสดุที่โดยปกติประกอบด้วยธาตุโลหะที่มีอิเล็กตรอน 1 ตัวขึ้นไป อิเล็กตรอนเหล่านี้ไม่ได้เป็นของอะตอมใดอะตอมหนึ่งโดยเฉพาะ ทำให้คุณสมบัติหลายประการของโลหะมีผลมาจากอิเล็กตรอนเหล่านี้
-
-
-
-