Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดกระทําการละเมิดด้วยตนเอง - Coggle Diagram
ความรับผิดกระทําการละเมิดด้วยตนเอง
การกระทําโดยจงใจ หรือ ประมาทเล่นเล่อ
ประมาทเลินเล่อ
ความหมาย:ไม่จงใจ เเต่ไม่ใช้ความระมัดรังตามสมควรที่จะใช้ รวมถึงลักษณะที่บุคคลผู้มีความระมัดระวังจะไม่กระทําด้วย
ตัวอย่าง:ก มีหน้าที่รับผิดชอบการเบิกจ่ายนํ้ามันเชื้อเพลิง ทําการฝ่าฝืนระเบียบโดยไม่เเเสดงทําหลักฐานการรับนํ้ามันที่จ่ายเเก่ผู้ขับยานพาหนะ ทําให้นํ้ามันขาดหายเป็นผลโดยตรงจากความประมาทเลินเล่อ ทําให้ ก ต้องรับผิด
จงใจ
ความหมาย:การกระทําที่เคลื่อนไหวของตนที่ว่ารู้สํานึกถึงผลเสียหายนั้น
ตัวอย่าง:ก ยกเเก้วนํ้าราดบนศรีษะของ ข ดังนั้น การกระทําของ ก เป็นการกระทําโดยรู้สํานึกเเละนึกถึงผลเสียหายที่เเก่ ข จากการกระทําของตน
พลั้งพลาด:เข้าใจผิดในข้อเท็จจริง
เข้าใจโดยสุจริต:มิได้รู้ถึงผลเสียหายเเก่บุคคลอื่น (มิใช่จงใจ)
การใช้สิทธิซึ่งจะมีให้เกิดคความเสียหายเเก่บุคคลอื่น
การใช้สิทธิที่มิชอบด้วยกฎหมาย ถ้าสิทธิต่างๆที่มีความมุ่งหมายเฉพาะเเตกต่างไป สิทธินั้นย่อมสิ้นสภาพไป
ตัวอย่าง: ก ทําผนังกั้นนํ้า ไม่ให้นํ้าลอกถนนเเต่ทําให้นา ของ ก เสียหาย หากเเก้ไขทําเหมืองผ่านนาของตน เเต่ให้นาของ ข เสียหาย จึงเป็นการใช้สิทธิอันเกิดเเก่คว่ามเสียหายเกเก่คนอื่น
ความเสียหายจากการกระทําของผู้ทําความเสียหาย
ตามหลักความผิดระหว่างเสียหาย ไม่มีหลักเเน่นอน เพราะ ผลบางอย่างจากการกระทําของผู้ก่อความเสียหายอาจอยู่นอกขอบเขตอันควรจะต้องรับผิด
เพราะเหตุใดเหตุหนึ่งเป็นผลจากเหตุหลายอย่าง จึงทําให้ผู้กระทําละเมิดรับผิดในผลทั้งหมดไม่ได้
ศาลประเทศต่างๆ จะไม่พยายามวางหลัก เเต่เน้นการวินิจฉัยว่าการกระทําของจําเลยเป็ฯเหตุให้เกิดผลเช่นนั้นหรือไม่ เเต่มีนักนิติศาสตร์ที่วางฎี ที่ศาลทั้งหลายใช้ในลักษณะเดียวกัน
ทฤษฎีเงื่อนใข
ข้อดี:ถ้าไม่มีการกระทําเเล้วความเสียหายย่อมไม่เกิด
ตัวอย่าง:ก ทําร้าย ข โดยเตะท้อง เเต่ ข มีโรคประจําตัว ถ้าทําร้ายเช่นนั้นอาจทําเสียชีวิตได้ โดยที่ ก ไม่รู้จน ข ตาย ดังนั้น ถึงเเม้ ก จะคิดเพียงว่า ข บาดเจ็บเท่านั้น เเต่ ก ต้องรับผิดในความตายของ ข
ข้อเสีย:ผู้กระทําละเมิดต้องรับผิดโดยไม่มีขอเขต ตลอดจนความเสียหายที่ไม้คาดหมายก็ต้องรับผิด
ทฤษฎีมูลเหตุเหมาะสม
ข้อดี:ผลของผู็กระทําละเมิดจะต้องรับผิดตามปกติ
ควรเกิดจาการกระทําของผู้ละเมิด
ตัวอย่าง: ก.ขับรถยนต์ชน ข ทําให้ นาฬิกา กุญเเจรถเสียหาย ทําให้ ก ต้องชดใช้ในทรีพย์สินนั้น
ข้อเสีย:จํากัดการรับผิดของผู้ละเมิดให้อยู่ภายในขอบเขตที่ควรจะคาดได้เห็นเท่านั้น
การกระทําที่ก่อให้เกิดความเสียหายเเก่บุคคลอื่น
มีความเสียหายต่อสิทธิ
เรื่องความเสียหายในมุมมองของบุคคลบางคน เป็นเพียงเเค่ทําร้ายร่างกาย เเต่ในทางกฎหมาย นั้นต้องอาศัยการวินิจฉัยที่เห็นโดยชอบในสังคมเป็นมาตรฐาน
ตัวอย่าง: ก ใช้มือตบศรีษะ ข มุมมองคนทั่วไปไม้เกิดความเสียหาย เเต่ในทางกฎหมายย่อมถือว่าเกิดความเสียหาย
ลักษณะเเห่งสิทธิ
ความหมาย:ประโยชน์ที่มีกฎหมายรับรองเเละคุ้มครองที่ทําให้บุคคลอื่นต้องเคารพสิทธินั้น
ตัวอย่าง: ก ไปเข้าเเถวเพื่อจองไปดูหนัง เราได้มีโอกาสซื้อก่อน ประโยชน์ที่เราได้ บุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพ
ตามมาตตรา 420 ที่ดูคล้ายจํากัดเพียงเเค่ว่าต้องเป็นเสียหายเเก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์ก็ดี
เเต่ มีเพียงเเค่คําว่า สิทธิ ก็เป็นการเเพียงพอเเล้ว
ความเสียหายที่คํานานได้ เเละ ความเสียหายที่คํานวนไม้ได้
ความเสียหายจากการละเมิดนั้นสามารถคํานวนเป็นเงิน หรือ ไม่สามารถคํานวนเป็นงินก็ไได้
คํานวนได้ ตัวอย่าง: ก นํารถของ ข ไปขับเเล้วเกิดรถชน ต้องเสียค่าพาหนะในการหลบหนีกลับมาบ้าน
คํานวนไม่ได้ ตัวอย่าง:ก ด่าหมิ่นประมาท ข ย่อมเป็นความเสียหายที่คํานวนไม่ได้
การคํานวนความเสียหายเป็นเงิน ต้องระวังว่าต้องไม่นํามาปนกับค่าสินไหมทดเเทนซึ่งต้องเยียวยากันภายหลัง
ความหมายของการกระทํา
ตามาตรา 420 ผู้้ทีจะต้องรับผิดจะต้องเป็นมนุษย์ไม่ว่าจะบรรลุนิติภาวะหรือ ผู้เยาว์ บุคคลวิกลจริตที่หมายรวมถึง ผู้ใด ดังที่กล่าวมาก็ต้องมีการกระทําของผู้รับผิดด้วย
การกระทํา= การเคลื่อนไหวในอิริยาบทเเละรู็สํานึกในความเคลื่อนไหว
ตัวอย่าง: ก ยกเเก้วนํ้าขึ้นดื่ม ดังนั้น การกระทําของ ก เป็นการเคลื่อนไหวโดยรู้สํานึก
ผู้เยาว์เเละบุคคลวิกลจริต
เรื่องนี้เป็นไปตามหลักการที่ถือว่ามีการกระทําหรือไม่ก็เเล้วเเต่ขัดเท็จจริงที่ว่ามีการเคลื่อนไหวโดยรู้สํานึกหรือไม่ ถ้าไม่รู้สํษนึกย่อมถือว่าไม่มีการกระทํา
การงดเว้นไม่กระทํา
หน้าที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางข้อเท็จจริงที่มีอยู่ระหว่างผู้งดเว้นกับผู้เสียหาย เช่น: เเพทย์กัาลังกลับบ้านเห็นผู้ป่วยจึงเข้าช่วยเหลือ ซึ่งเป็นอันไม่ใช่หน้าที่ หากงดเว้นให้ตลอดย่อมเป็นการงดเว้น
หน้าที่ตามสัญญา เช่น: มีสัญญาเเพทย์จ้างรักษาโรคเเต่เเพทย์ไม่ปฎิบัติหน้าที่จากสัญญา ทําให้เสียหาย ย่อมเป็นการงดเว้น จึงทั้งผิดสัญยษเเละละเมิด
การละเว้นไมีกระทําการที่มีหน้าที่ต้องทํา
หน้าที่ตามกฎหมาย เช่น บุตรต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา มาตรา 1563
กระทําโดยผิดกฎหมาย
การใช้สิทธิซึ่งที่เเต่ก่อจะเกิดความเสียหายเเก่บุคคลอื่น
ถึงเเม้จะทําโดยสิทธิเเต่ถ้าสิทธินั้นทําห้เกิดความเสียหาย ย่อมผิดกฎหมายอยู่ดี ตามาตรา 421ที่เป็นบทขยาย เเละ ต้องมีการจงใจหรือประมาท มาตรา 420 ประกอบด้วย
ตัวอย่าง :ก ชกต่อย ข เเต่ ข ไม่ยอม จึงนํารถยนต์ของ ค ไปใช้โดยไม่รับอนุญาติ
การกระทําฝ่าฝืนเเบบบังคับเเห่งกฎหมาย
ความเสียหายที่เนื่องมาจากการกระทําฝ่าฝืน ตามาตตรา 422 ที่ต้องพิสูจน์หรือสันนิษฐานว่าผู้ใดฝ่าฝืนผู้นั้นเป็นผู็ผิด
ตัวอย่าง: ก ขับรถเเล่นเข้าไปชน รถของ ข ทางด้านขวาของถนน เบื่องต้นศาลสันอษฐานตามกฎหมายว่า ก เป็นผู้ผิด ซึ่งกมีหน้าที่นําสืบหักล้างว่าตนไม่ใช่ผู้ผิด
ความหมาย : การกระทําที่ไม่มีสิทธิตากกฎหมายถ้าเกิดขึ้นเเล้วถือว่าเป็นการกระทําที่ผิดกฎหมาย