Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1)วัตถุแห่งหนี้ - Coggle Diagram
1)วัตถุแห่งหนี้
1หนี้กระทำการ
เป็นหนี้ที่ลูกหนี้ต้องไปทำการงานอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตัวอย่างเช่น ไปสร้างบ้านให้ ไปทำการงานต่างๆให้แก่นายจ้างตามสัญญาจ้างแรงงาน
-
- หนี้กระทำการอาจมีได้ทั้งหนี้ที่ลูกหนี้ต้องกระทำด้วยตนเองและลูกหนี้อาจไม่ต้องกระทำด้วยตนเอง
ตัวอย่างเช่น หนี้ตามสัญญารับจ้างสร้างบ้าน ลูกหนี้ซึ่งเป็นผู้รับเหมาไม่ต้องกระทำด้วยตนเองก็ได้ แค่ไปจัดหาคนงานมาทำงานให้เสร็จตามสัญญา
- หนี้กระทำการที่ลูกหนี้ต้องกระทำเองโดยเฉพาะ เป็นหนี้ส่วนตัวและไม่ตกเป็นมรดกแก่ทายาทลูกหนี้ แต่ทางด้านเจ้าหนี้นั้นสิทธิอาจตกไปยังทายาทได้เว้นแต่จะตกลงกันเป็นอย่างอื่น หนี้ประเภทนี้หากลูกหนี้กลายเป็นคนไม่สามารถจะชำระหนี้ได้ก็ถือว่าการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย ซึ่งทำให้ลูกหนี้หลุดพ้นจากกการชำระหนี้นั้น ตามมาตรา ๒๑๙ วรรคสอง
ตัวอย่างเช่น ทำสัญญาจ้างจิตกรฝีมือดีมาวาดรูปเหมือนตัวเอง แต่ก่อนจะวาดรูปจิตกรได้ประสบอุบัติเหตุไม่สามารถวาดรูปได้ ตามมาตรา ๒๑๙ วรรคแรก
- หนี้กระทำการมีได้ทั้งมูลหนี้จากสัญญาและมูลหนี้ละเมิด
หนี้ที่เกิดแต่มูลละเมิดก็อาจมีวัตถุแห่งหนี้เป็นการกระทำได้มิใช่ว่าจะต้องเสียค่าสินไหมทดแทนเป็นเงินเพียงอย่างเดียว
-
- หนี้อีกประเภทหนึ่งที่ลูกหนี้ต้องกระทำด้วยตนเอง
ตัวอย่างเช่น สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาผู้รับจ้างอาจไม่ต้องกระทำเองนั้นเสมอไป แต่ถ้าสภาพแห่งหนี้นั้น มุ่งใช้ความรู้ความสามารถเฉพาะตัว
-
-
2หนี้งดเว้นกระทำการ
คือ วัตถุแห่งหนี้อาจกำหนดให้ลูกหนี้ต้องไม่กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใด ตามที่ตกลงกันไว้ ในมาตรา ๒๑๓ วรรคสาม แต่หนี้งดเว้นกระทำการนั้น มิใช่มีแต่เฉพาะเรื่องการก่อสราง อาจมีหนี้งดเว้นกระทำการบางอย่างได้อีกมากมาย
-
- หนี้งดเว้นกระทำการต้องมีสภาพเป็นหนี้(0bligation)
ที่อาจบ้งคับได้ไม่ใช่หน้าที่ทั่วไป(devoir)
อาจกล่าวได้ว่าหนี้งดเว้นกระทำการในที่นี้หมายถึงหนี้ที่อาจบังคับกันได้ตามมาตรา ๒๑๓ วรรคสาม
-
- หนี้งดเว้นกระทำการกับหลักเสรีภาพ
เป็นการบังคับให้ลูกหนี้ต้องไม่กระทำการบางอย่างอาจมีปัญหาในการพิจารณาว่าจะขัดกับหลักเสรีภาพหรือไม่
หนี้งดเว้นกระทำการมีความเกี่ยวข้องกับสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ดังนั้น หนี้ชนิดนี้ถ้าไม่มีข้อจำกัดในเรื่องเวลาหรือสถานที่อาจขัดต่อหลักเสรีภาพของบุคคลหรืออาจขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี มีผลให้สัญญาเป็นโมฆะก็ได้
-
- หนี้งดเว้นกระทำการอาจขัดต่อกฎหมายขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือเป็นพ้นวิสัยได้ด้วยเช่นกัน
ลูกหนี้จะต้องไม่กระทำการอะไรหรือลูกหนี้ไม่ได้ทำอะไรนี้ก็อาจเป็นวัตถุประสงค์ที่ขัดต่อกฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีมีผลทำให้นิติกรรมนั้นเป็นโมฆะได้
ตัวอย่างเช่น ทำสัญญาให้ค่าตอบแทนโดยที่ฝ่ายที่ได้รับค่าตอบแทนมีหนี้ต้องไม่ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง นอกจากนี้หนี้งดเว้นกระทำการนี้อาจเป็นพ้นวิสัยได้ ตัวอย่างเช่น ลูกหนี้ถูกบังคับให้กระทำการซึ่งจะต้องงดเว้น
-
3หนี้ส่งมอบทรัพย์สิน
- การส่งมอบทรัพย์สินนั้นหมายถึงหนี้ที่ลูกหนี้มีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินให้แก่เจ้าหนี้
ตัวอย่างเช่นสัญญาซื้อขายก๋วยเตี๋ยว ฝ่ายผู้ซื้อก็มีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินคือราคาก๋วยเตี๋ยวแก่คนขาย ในขณะที่คนขายก็มีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินคือก๋วยเตี๋ยวแก่ผู้ซื้อ
- ความแตกต่างของการโอนกรรมสิทธิ์การโอนทรัพย์สินและการส่งมอบทรัพย์สิน การโอนกรรมสิทธิ์ การโอนทรัพย์สินและการส่งมอบทรัพย์สินนี้ มีความหมายที่ไม่ตรงกันทีเดียว ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการโอนกรรมสิทธิ์นั้นรวมถึงการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์จากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งเช่นกรณีสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ซึ่งเมื่อสัญญาซื้อขายเกิดขึ้นแล้ว ตามมาตรา ๔๕๘
- วิธีการส่งมอบทรัพย์ ขึ้นอยู่กับสภาพของทรัพย์นั้นเพราะทรัพย์บางชนิดก็อาจมีขนาดเล็กที่สามารถนำมาส่งให้กับเจ้าตัวเจ้าหนี้ได้แต่ทรัพย์บางชนิดเป็นของมีขนาดใหญ่โตไม่อาจเคลื่อนย้ายได้ง่าย เช่น ที่ดิน บ้านช่อง
ดังนั้นการส่งมอบทรัพย์จึงกำหนดไว้อย่างกว้างขึ้นอยู่กับมาตรา ๔๖๒
ตัวอย่างเช่น การส่งมอบรถยนต์ก็อาจเพียงแต่มอบกุญแจรถทำให้ผู้รับมอบสามารถเข้าครอบครองรถได้
วัตถุแห่งหนี้ที่เป็นการส่งมอบทรัพย์สินก็มีทรัพย์สินที่ลูกหนี้ต้องส่งมอบทรัพย์ที่ลูกหนี้มีหน้าที่ส่งมอบนี้จะต้องเป็นทรัพย์ที่มีรูปร่างและทรัพย์นี้จะเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง ตัวอย่างเช่น รถยนต์คันใดคันหนึ่งโดยเฉพาะทรัพย์สินที่ลูกหนี้จะต้องส่งมอบนี้ กฎหมายเรียกว่า ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้
1.หน้าที่ในการชำระหนี้
1.2กำหนดเวลาชำระหนี้
กำหนดเวลาชำระหนี้เป็นสิ่งสำคัญในการชำระหนี้ของลูกหนี้
หากลูกหนี้ไม่รู้กำหนดเวลาชำระหนี้ของตอน ก็ไม่อาจชำระหนี้ให้ถูกต้อง
ตามความประสงค์อันแท้จริงของมูลหนี้ได้ ตามมาตรา๒๐๔ แบ่งได้2กรณี
1)หนี้ที่มิได้กำหนดเวลาชำระหนี้ มาตรา๒๐๓ วรรคแรก
หนี้นี้จะต้องไม่มีกำหนดเวลาทั้งโดยปริยาย(ที่อนุมานจากพฤติการณ์ได้)
-
2)หนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระ
หนี้มีกำหนดเวลาชำระหนี้อาจกำหนดโดยชัดแจ้งแล้ว หรือโดยปริยายก็ได้แบ่งเป็น2กรณี
-
-
-
1.3การผิดนัดไม่ชำระหนี้
-
2)ผลของการผิดนัดของลูกหนี้
เมื่อถึงกำหนดชำระลูกหนี้มีหน้าที่ชำระตามมาตรา๒๐๓และมาตรา๒๐๔
หากลูกหนี้ไม่อาจอ้างเหตุยกเว้นความรับผิดตามมาตรา๒๐๕ หรือกรณีหนี้ละเมิดลูกหนี้ลูกหนี้ก็ต้องผิดนัดตามมาตรา๒๐๖
ผลของการผิดนัดที่สำคัญ
1ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดแต่ความผิดนัด
เกิดความเสียหายแก่เจ้าหนี้ มาตรา๒๑๕ ลูกหนี้ผิดนัด
-
3ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดระหว่างผิดนัดเพิ่มขึ้น มาตรา๒๑๗
ความรับผิดของลูกหนี้ในกรณีนี้ต่างกับใน2กรณีแรก ในมาตรา๒๑๕และมาตรา๒๑๖คือในมาตรา๒๑๗
ความรับผิดกรณีนี้ ไม่ใช่เกิดจากการผิดนัดแต่เป็นการเกิดในระหว่างผิดนัดด้วยเหตุอื่น
-
-