Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dx. Septic shock with VAP with Colitis, Discharge planning, ผู้สูงอายุ,…
-
Discharge planning
D : Diagnosis การเกิดแผลในกระเพาะอาหาร เนื่องจากการเสียความสมดุลย์ระหว่างการหลั่งกรดไฮโดรคลอลิคมากผิดปกติ ทำให้เยื่อบุกระเพาะอาหารบางลง เลือดไปเลี้ยงน้อยลงและเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยมีเลือดซึมมาจากหลอดเลือดฝอยในชั้นเยื่อเมือก ซึ่งชั้นนี้ประกอบด้วยหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ ถ้าแผลเข้าไปถึงหลอดเลือดขนาดใหญ่กว่าทำให้เกิดภาวะเลือดออกอย่างรุนแรง ความรุนแรงของแผลในกระเพาะอาหารอาจเข้าไปถึงชั้นกล้ามเนื้อของกระเพาะอาหาร มีผลทำให้กระเพาะอาหารทะลุและเกิดภาวะช็อกได้เนื่องจากปริมาณเลือดไหลกลับสู่หัวใจลดลง แรงดันของหัวใจห้องล่างลดลง ทำให้เลือดออกจากหัวใจลดลง ความดันโลหิตลดลง การกำซาบของเนื้อเยื่อลดลง เนื้อเยื่อของร่างกายจึงได้รับอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอและอันตรายต่อเนื้อเยื่อในระบบต่างๆ
M : Medicine
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการรับประทานยา รวมทั้งผลข้างเคียงจากการใช้ยา
ยา Metronidazole (200) 2x3 oral pc
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง ปัสสาวะสีเข้ม
ยา Rebamipide (100) 1x3 oral ac
ผลข้างเคียง : ปวดศีรษะ ท้องผูก ท้องร่วง คลื่นไส้ อาเจียน
ยา Motilium 1x3 oral ac
ผลข้างเคียง : ใจสั่น ปวดหัว ปากแห้ง
E : Environment
แนะนำการจัดสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้สะอาด อากาศถ่ายเทสะดวก สวมใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้งที่ออกจากบ้าน ล้างมือก่อนและหลังทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อต่างๆที่เข้าสู่ร่างกาย และหลีกเลี่ยงการไปชุมชนแออัด
T : Treatment ดูแลให้ได้รับ Oxygen ทาง ET Tube with ventilator setting mode : CPAP RR 18 PEEP 8 FiO2 0.4 Vt 557 อาหารผสม : BD (1:1) 100 ml x 4 feed
H : Health แนะนำการสังเกตุอาการที่ผิดปกติจากโรค ได้แก่ ท้องอืด มีลมในช่องท้อง อุจจาระมีเลือดปวดท้องมาก คลื่นไส้ อาเจียนเป็นต้นให้รีบมาพบแพทย์
O : out patient แนะนำการมาตรวจติดตามหลังกลับบ้าน และมาตรวจตามแพทย์นัด ในกรณีที่ยาหมดก่อนวันนัด ควรมาตรวจก่อนวันนัดและแจ้งแพทย์ว่ายาหมดก่อนวันนัด หากญาติมีความสงสัยหรือมีคำถาม สามารถขอคำแนะนำหรือข้อมูลเพิ่มเติมได้สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้านได้ทุกแห่ง
-
-
-
-
-
-
-
จุไรรัตน์ นนทวงษ์. (2563). การพยาบาลผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารทะลุ ที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด. โรงพยาบาลสิงห์บุรีเวชสาร. 2(29), 53-66.
ทิฏฐิ ศรีวิสัย และ วิมล อ่อนเส็ง. (2560). ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ: ความท้าทายของพยาบาลฉุกเฉิน. วรสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์. 9(2), 152-162
นันทวัช เมตตากุลพิทักษ์. (2561). ระบบการให้เลือดผู้ป่วย. โรงพยาบาลบ้านโป่งน้ำร้อน. 1(6), 1-8.
นนทรัตน์ จำเริญวงศ์, สุพรรณิการ์ ปิยะรักษ์ และ ชยธิดา ไชยวงษ์. (2563). การประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 7(1), 319-330.
มนชิสา แดงทองดี. (2556). การพยาบาลผู้ป่วยกระเพาะอาหารทะลุ. กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาลฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์.
-
-
-