Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการพยาบาลขั้นพื้นฐานวันที่ 20 ก.ค. 2565 - Coggle Diagram
สรุปการพยาบาลขั้นพื้นฐานวันที่ 20 ก.ค. 2565
Acute Abdominal pain
อาการ
ปวดท้องต่อเนื่อง>6 hr.และตรวจซ้ำ ต้องตื่นมากลางคืน ปวดในกลุ่มผู้ป่วยเฉพาะ เด็ก ผู้สูงอายุ มีไข้
สัญญานชีพไม่คงที่ มีท้องแข็ง เคยมีประวัติการบาดเจ็บช่องท้องและทรวงอก
ผ่าตัดช่องท้องมาก่อน ปวดไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันปกติ
Acute abdomen (Surgical abdomen)
แยกกลุ่ม emerency condition (แดง/ส้ม ตาม triage
Truama VS NonTruama
Surgical abdomen VS Non Surgical abdomen
รายงานแพทย์ และ ปรึกษาศัลยแพทย์
Definition
Colic หรือ Clicky pain ปวดบิดๆเป็นพักๆ นิ่วจากท่อไต นิ่วทางเดินน้ำดี ท้องผูก
Peritonism Localise inflammation Peritoneum ปวดเฉพาะจุด ท้องแข็งเกร็ง rebound tender
Urgency to Emergency
Surgical abdomen 1.Rigidity 2.Severe tenderness to palpation 3.Rebound tenderness 4.Absent bowel
การซักประวัติ
1.Time/onset นานไหม เมื่อไหร่
2.Character/Pattern พักๆตลอดเวลา ร้าวไปไหนไหม
3.Position
4.Factor
5.Associated symptom คลื่นไส้ อาเจียนท้องเสีย หนาวสั่น น้ำหนักลด
6.Underlying disease/Gynecology history
7.Medication เช่น Nsaid steroid ARV
อย่าลืมถาม
1.ผู้หญิงวัยเจริญพันธ์ ถามประวัติรอบเดือนเสมอ
2.ประวัติการขับถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะ
3.การใช้ Alcohol ในผู้ชายวัยทำงาน
4.อย่าลืมประวัติเรื่องการแพ้ยา
5.มีอาการปวดท้องร่วมด้วยเสมอ เช่น Ml DKD SLE DHF
6.ประวัติการผ่าตัดรักษา
7.ประวัติ Abdominal trauma ก่อนหน้า
ตรวจร่างกาย
เหลือง ซีด ขาดอาหาร ต่อมน้ำเหลืองโตไหม
ลักษณะเป็นโรคตับแข็งไหม
ตัวบวมไหม บวมกดบุ๋มไหม
ระบบช่องท้อง
Vital sign
การตรวจ Abdominal sign
ดู คลำ เคาะ ฟัง Bowel Sound PV,PR
การผ่าตัด
Endoscopic ultrasound or EUS
การรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
การวินิจฉัยแน่ชัด การรักษาแบบผู้ป่วยใน
ระดับการรับรู้หรือรู้สึกตัวลดลง
ผู้ป่วยเด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้สูงอายุ ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ
อย่าลืม RE-evalaution
1.Vital sign neurosign และการหายใจ Oxygen Sat%
2.Check line and tube ระดับคลามลึก รวมถึงNG
3.Record iv rate,Urine Out สี
AAA(Pulsatine mass)โรคหลอดเลือดผิดปกติแต่กำเนิด
อาการ
ปวดท้องฉับพลัน
อายุเยอะ
Bp drop ,Fast positive
เปลือกตาซีด HCT drop
Unstable
รีบResuscitation
รายงานแพทย์,CVT
Stable
เตรียม Confirm Dx CTA Chest+Whole abdomen
ใส่สาย NG Foley / I/O
เตรียมเลือด
ให้ ยา Pain control ,Rest ผู้ป่วย,Oxygen ให้กำลังใจ+ข้อมูลญาติ
Rupture ectopic
-มีประวัติรอบเดือนผิดปกติ -ไม่ได้มีอาการไข้ แบบ Sepsis
เคยท้องนอกมดลูก
ใช่ยาคุมฉุกเฉิน บ่อยครั้ง , ทำหมันแล้วก็เกิดได้
ตรวจร่างกาย
ปวดท้องแบบ Pelvic peritonitis
พบ Cervix motion tenderness
-ไม่ตกขาว ตกขาวน้อย ไม่มีไข้
เปลือกตา ซีดจากการเสียเลือด
Hypovolemic Shock
อาการ
ปวดท้อง โดยเฉพาะท้องน้อยในหญิงวัยเจริญพันธ์
รอบเดือน ขาดๆหายๆ
เปลือกตาซีด และ Shock
FAST positive แบบผู้ป่วย Trauma
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC UPT
Resusscitation Consult
ระวัง UPT negative พบใน Ectopic Pregnancy
Diverticulitis
ทำการ Resuscitation กลุ่มผู้ป่วย Unstable
เจาะ CBC Coagulopathy
NG,Foley Recorsd I/O
ยารักษา
Transamine,Vit k ,Somatostatin
Proton Pump
Rupture HCC
พบมากในช่วง อายุ 50 ปี พบในชายมากกว่าหญิง
ประวัติเป็นตับอักเสบเรื้อรัง
Hepatitis B
Cirrhosis singn
Perforated Viscus
PU perforation
Colonic Obstruction
Diverticulitis
มีประวัติท้องผูกเรื้อรังนำ พบผู้สูงอายุบ่อย 40 ปี ขึ้นไป
ปวดท้องจุกมาก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
CT scan และผ่าตัด
Infiammatory bowel disease
พบใน้ผู้สูงอายุ ผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ปวดท้องเป็นๆ หายๆ ปวดมาก ท้องอืด
ตรวจพบท้องอืด Abdominal distension
Absent bowel sound
การรักษา
ต้องทำการผ่าตัดต่อ
NPO
ปรึกษาอายุแพทย์ ก่อนผ่าตัด
ICU เลือด
Necrotizing enterocolitis
แนวทางการดูแล
1.Rest bowel
2.Resusitation ให้ Iv Fluid
3.เจาะ lab pre-op DTX
อาการ
ชีพจร เบาเร็ว
กด-ปล่อย ปวด เคาะปวด
หน้าท้องแข็งเกร็ง
เสียงขยับตำลำไส้ลดลง หรือ หายไป
สาเหตุ Peritonitis
การแตกทะลุของอวัยวะท่อกลวงในช่องท้อง
Trauma,pancreatitis,SBPในcirrhosis
Infect จาก Peritoneal dialysis
มักพบคนสูงอายุ ชาย>หญฺิง
ปวดท้องน้อยด้านขวา ช่วงระยะเวลามา รพ
การรักษาเบื้องต้น
Retain NG,Foley cath
Load Fluid Resuscitation
ให้ยา ATB Pre-Op Prophylaxis
ให้ยากลุ่ม Proton pump หลังผ่าตัด
งดน้ำงดอาหารก่อนการผ่าตัด ซ๋อมกระเพราะ สาย NG
Acute Cystitis VS Acute PyelonephritisG
-หญิง > ชาย ด้วยเหตุผลทาง Anatomy
-ไข้ มักพบไข้สูงหนาวสั่นได้ Acute Pyelonephritis
การรักษา ATB กลุ่ม 3 วัน 7 วัน
ต้องระวังการใช้ ATB
ยา Amoxycillin
Peptic ulcer disease
ปวดบริเวณลิ้นปี ทะลุไปหลังได้
คลื่นไส้ อาเจียน อาเจียนเป็นเลือดได้
อาการปวดสัมพันธ์ มื้ออาหาร
Risk factor
Nsaid
Alchol
Gastroenteritis
Acute pancreatitis
Acute Hepatitis
Appendicitis
Incidence
พบบ่อยในช่วงอายุ 10-30 ปี พบมากในช่วง 20 ปี
Rupture Appendicitis
อายุ อายุมาก
สภาพร่างกาย อ้วน ตั้งครรภ์
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการ
Appendicitis in Children
อาการเหมือนกับผู้ใหญ๋
เด็ก: DHF, Henoch Schonlein Purpura,Acute diarrhea,UTl
ผู้ใหญ่: Uc,Ectopic Pregnancy,PID,
วินิจฉัยยาก
1.หน้าท้องหนา
2.อาการปวดไม่ชัด มีอาการแพ้ท้องร่วม
3.Leucocytosis WBC>1400
Ultrasound
Appendicitis in Pregnancy
ไม่แนะนำให้ทำ CT scan
Fetal exposure จาก Abdominol CT
CT scan
1.อาการปวดไม่ดีขึ้นหลังจากติดตามดูอาการ 24 ชม.
2.ปวดท้องต่อเนื้องโดยไม่ทราบสาเหตุ
การลงแผลผ่าตัด
-Midline incision ในรายที่เป็น Rupture Appendicitis
-การล้างท้องในไส้ติ่งอักเสบ ทำเฉพาะในรายที่ไส้ติ่งแตก และเปิดแผลแบบ Midline
เตรีมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
1.งดน้ำงดอาหารก่อนการผ่าตัด 4-6 ชม.
เตรียม Pre-op lap
Gastrointestinal bleeding
Upper Gastrointestinal bleeding
เลือดออกส่วนบน จนถึง ligament of Treitz
พบมากในชาย
Non Variceal UGIB
Variceal UGIB
กลุ่มที่ได้รับยา NSAID
อาการ
เลือดสด สี ปริมาณ เวลา ช่องทาง อาเจียนไอ หรือถ่าย
ไข้ ตัวตาเหลือง คัน บวม ปัสสาวะไม่ออก เจ็บหน้าอก
โรคประจำตัว หัวใจ ตับ ไต
ยาที่ใช้ก่อนหน้า
ปัสสาวะครั้งสุดท้าย สีเข้ม
การดูแลเบื้องต้น
Initial Assessment (ประเมินเบื้องต้น)
Initial Resuscitation (การแก้ไขภาวะวิกฤติเบื้องต้น)
Critical Care (การดูแลภาวะวิกฤติ,เฝ้าระวัง,หาตำแหน่งของเลือดออก
Definite diagnosis and management (ให้การวินิจฉัยและรักษาเฉพาะเจาะจง)
เติมเลือดเมื่อHCT < 24%,Clinical shock
ดูปริมาณน้ำปัสสาวะต่อชั้วโมง ปริมาณ 0.5 มล./ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย
โรคร่วมทางระบบหัวใจ ไต ตับ แนะนำให้มี Monitor
ตรวจผลทางห้องปฏิบัติการ ( CBC,Plt,Sugar,BUN,Cr,Eletroiyte,PT,PTT เป็นต้น
ผ่าตัด วิธี Sengstaken-blakemore Tube
การดูแลทางการพยาบาล
งดน้ำงดอาหาร ให้ IV hydration
Monitoring เฝ้าระวัง Hypovolemic shock , rebleeding
ประเมิน I/O, Urine output,serial HCT,Vital sign ร่วมกับระดับความรู้สึกตัว สาย NG
กลุ่มเสี่ยง
Adrenal insufficiency
ตับ ไต หัวใจ
คนไข้ที่มีปัญหา Coagulopathy
กลุ่มดื่มสุราหนัก อย่าลืมเฝ้าระวังเรื่องชักจาก Withdrawal syndrome
Lower GI bleeding
R/O Upper GI bleeding
Unstable
ซักประวัติ
โรคร่วม เช่น Cirrhosis
ยาที่ใช้ Alcohol
ปวดท้อง น้ำหนดลด ถ่ายป็นมูก ท้องผูกเรื้อรัง ผ่าตัด/หัตถการก่อนหน้า
ตรวจร่างกาย
VS , Cirrhosis sign,Surgical Scar
Abdominal sign, Mass or peritonitis sign
Colonscope,CTA,Rbc
Angiodysplasia
พบในคนสูงอายุ > 60 ปี
ผ่าตัดเมื่อ V/S Unstable or massive bleeding ( > 4 unit/ 24 ชม.
Anal fissure,Hemorrhoid
การดูแลรักษา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลสุขภาพ ทานผักผลไม้ เพิ่มการดื่มน้ำ ยาระบาย อ่อนๆ
Stool Softenner ใน anal fissure ( Fibro-gel,mucillin)
Flavonoid drug ใน hemorrhoid (Daflon, เพชรสังฆาต),pain control
Bowel Obstruction ( ลำไส้อุดตัน)
อาการทางคลีนิค
Colicky abdominal pain
nausea and vomiting
abdominal distension
A Cessation of flatus
bowel movements ช่วงแรก Active ต่อมาจะลดลงเมื่อเกิด Bowel ischemia
สาย NG ,มี fluid Content เหมือนสีอุจจาระ แสดงว่าเป็น Close Loop Obstruction เตรียมผ่าตัด
ซักประวัติ
ไม่ถ่าย ไม่ผายลม มากี่วัน
มีประวัติ ถ่ายลำเล็กลงไหม Bowel habbit Change น้ำหนักลด
Gl Symptom,อาการไข้,ปวดท้อง จุดกดเจ็บ
โรคประจำตัว ยาที่ใช้ประจำ การผ่าตัดก่อนหน้า
การรักษาก่อนหน้า
ตรวจ
V/S,Abdorminal sign
ก้อน,ฺBowel sound
Peritonitis sign จุดกดเจ็บ,Surgical Scar
PR ก้อนใน / นอก ลำไส้ อุจาระสี เลือด
A.Location,ฺB.Degree of Obstruction,C.CAUSES
Intestinal Obstruction ( Bezoar, Worm)
GIST With intussception Small bowel
CA Colon
Transverse colon vulvulous
การพยาบาล
งดน้ำงดอาหาร
ให้ Hydration +/- fluid resucitation ประเมินสภาวะขาดน้ำเกลือแร่่ Complete lab Pre-Operation
ปรึกษาอายุรแพทย์ เตรียมตัวพร้อมการผ่าตัด
พิจารณา ให้ ATB รายที่แสดงถึง Bacterial infection
ใส่ NG Therapetic decompression และ Foley Catheter
จองเลือด ICU ข้อมูลญาติ ผู็ป่วย
ประเมินที่สำคัญ
Abdominal sign เฝ้าระวัง Peritonitis
ให้ยาแก้อาเจียน ยาบรรเทาอาการปวดท้องชนิด ไม่รุนแรงมากเพื่อติดตามดูอาการ ทางหน้าท้อง
ติดตาม Vital sign
ติดตาม Urine output เฝ้าระวัง AKI
ติดตามปริมาณ น้ำที่ออกจาก NG ดูสี ติดตามดูว่า สาย NG
การถ่าย การผายลม สีอุจาระมีเลือดปน
Biliary tract disease
Symptomatic gall stone
ปวดบิดหลังทานอาหารประมาณ 30 นาที ชายโครงขวา มีตัวตาเหลือง
ทานอาหารมัน ธาลัสซีเมีย ท้อง อ้วน เบาหวาน
การทำ ESWL ไม่มี role Biliary tract stone เพราะทำให้เกิด Cholagitis
การรักษา
ยากลุ่มเดียวกันที่รักษา Dyspepsia ลดการทานมัน
การผ่าตัด
มีอาการปวดท้องจนรบกสนการใช้ชีวิตประจำวัน
ขนาดนิ่ว >1.5 CM
Gall stone induce pancreatitis
การให้ยาละลายนิ่วในกลุ่มนี้ไม่มีผล
Mirizz s syndrome
อาการเหมือน Cholecystitis เหลืองเล็กน้อย ทำให้เกิด CBD injury จากาารทำ LC
Acute Cholecystitis
ปวดท้องใต้ชายโครง ร้าวไปสะบักหลัง คลื่นไส้ อาเจียน
หายใจเจ็บ
Murphy"s sign positive
CBC LFT U/S
การรักษา
NPO,IV hydration ,ATB iv
ผ่าตัด OCหรือLC เป็นมาไม่เกิน 72 hr.
CBD dilated > 4 mm
การวินิจฉัย
Finding U/S Clinical + lab Confirm
Severe acute cholangitis
1.Cardiovascular dysfunction
2.Neurologic dysfunction
3.Respiratory ddysfunction
4.Renal dysfunction
5.Hepatic dysfunction
6.Hematologic dysfunction
ทำ ERCP
เลือดออกจากการเปิดทางเดินน้ำดี
ตับอ่อนอักเสบ
ลำไส้เล็กทะลุ
ทางเดินน้ำดีอักเสบ ซ่ำ
CBD explore
Gall bladder polyp
วินิจฉัย จาก U/S
รักษา Conservative คล้าย Symptomatic gall stone
ถ้าขนาด Polyp<5 mm. ตาม U/S ทุก 6 เดือน
1 cm ให้พิจารณา CT ก่อนผ่าตัด
ถ้ามากกว่า พิจารณาผ่าตัด LC
Malignancy CA gall bladder,Cholangiocarcinoma
มีอาการตัวตาเหลือง ปวดท้องเรื้องรัง ตรวจพบก้อนที่ตับตับ จาก imaging ปวดท้องใต้ชายโครงขวา เบื่ออาหารน้ำหนักลด
สาเหตุเกิดจาก
นิ่วในทางเดินน้ำดีเรื้อรัง
พยาธิใบไม้ในตับจากการทานปลาดิบ
โรคกรรมพันธุ์บางชนิด เช่น Caroli"s disease, Primary Sclerosing Cholangitis
การวินิจฉัย
ด้วยการตรวจ imaging CT หรือ MRCP
ค่า AFP มักจะปกติและ CEA CA19-9 มักจะสูง
ระยะสุดท้าย การรักษาหลักๆ จะเป็นกลุ่ม Palliative surgery
Keyword
1.ผู้ป่วยมีโอกาสสูญเสียเกลือแร่จากการอาเจียนมาก
2.การให้ยาบรรเทาอาการปวด
3.ในผู้ป่วยหลังผ่าตัด ERCP มีภาวะแทรกซ้อน
4.อาการตาเหลืองหลังผ่าตัดถุงน้ำและทางเดินน้ำดี
5.ท้องอืดหลังการผ่าตัดส่องกล้องถุงน้ำดี
6.หลังผ่าตัดถุงน้ำดีทั้วไป ช่วงแรกจะงดน้ำงดอาหาร
7.กลุ่มผู้ป่วยที่เป็น Toxic Cholangitis ทางเดินน้ำดีอักเสบ อาการจะค่อนข้างเร็วและรุนแรง
กิจกรรมพยาบาล
อย่าลืมประเมินการขาดน้ำ
อย่าลืมประเมิน ระดับ I/O เฉพาะผู้ป่วยวิกฤต
การเหลืองหลังผ่าตัด เช็คได้โดยเร็วจากการดูตาขาว
สีน้ำดี จากสาย Drain บ่งบอกถึงน้ำดีรั่วหลังการผ่าตัด
ผู้ป่วยทางเดินน้ำดีอักเสบ Early sing
ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง (Fowler"s position)
ประคองท้องด้วยผ้าพันท้อง หลายทาง เช่น ( Scultetus binder) ช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหว
ให้อาหารไขมันต่ำ ช่วยบรรเทาอาการจากอาหารไม่ย่อยจากการขาดน้ำดี