Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ป.พ.พ มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เ…
ป.พ.พ มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
ผู้ใดหมายถึง มนุษย์
-
-
บุคคลวิกลจริต
มาตรา 429 บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริตก็ยังต้องรับผิดในผลที่ตนทำละเมิด บิดามารดาหรือผู้อนุบาลของบุคคลเช่นว่านี้ย่อมต้องรับผิดร่วมกับเขาด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลซึ่งทำอยู่นั้น
-
-
-
-
ทฤษฎีเงื่อนไข
-
-
เอ ทำร้ายร่างกาย ออม โดยเตะที่ท้องเบาๆ เเต่ปรากฎว่า ออม มีโรคร้ายประจำตัว ซึ่งถ้าหากถูกกะทบกะเทือนอย่างเเรง ออม อาจตายได้ เเต่ เอ ไม่ทราบมาก่อน ออมถึงเเก่ความตาย ดังนี้ความตายของออมเป็นผลมาจากการกระทำของ เอ เเม้ ออม จะไม่รู้ว่า ออม เป็นโรคดังว่านั้นคิดเเต่เพียงว่า ออม อาจได้รับบาดเจ็บเล็กน้อยเท่านั้น เเต่ เอ ก็ต้องรับผิดในความตายของ ออม
ทฤษฎีมูลเหตุที่เหมาะสม
-
เอ ย่อมไม่ทราบว่า ออม มีโรคร้ายประจำตัว ถ้าทำร้ายเช่นนั้น ออม อาจได้รับอันตรายถึงตายได้ เอ จึงต้องรับผิดเฉพาะในกรณีที่ ออม ได้รับบาดเจ็บอย่างธรรมดาเท่านั้นไม่ต้องรับผิดในความตายของ ออม
-
-
-
-
-
-
-
-
ลักษณะการร่วมกันทำละเมิด
ต้องมีเจตนาหรือความมุ่งหมายร่วมกันเเละการกระทำร่วมกันไม่ใช่ต่างคนต่างมีเจตนาหรือความมุ่งหมายของตนเองหรือต่างคนต่างกระทำเท่านั้นเเละโดยใเหตุที่วิสัยเเละพฤติการ์ณมอาจมีการละเมิดร่วมกันได้เช่นเดียวกับทางอาญาตาม ปอ.83ในความรับผิดทางเเพ่งจึงต้องปรับด้วยมาตรา 432
ตอม เเละ เเตม ต่างมีความโกรธเเค้น ตูม ด้วยเรื่องส่วนตัว เเตม สืบรู้มาว่า ตอมจะชกต่อยตูมเวลาใด พอตอม ชกต่อย ตูม เเละ เเตมก็ใช้ไม่ตีศรีษะ ตูม ในเวลาเดียวกันพร้อมๆ กัน ดังนี้ ตอมเเละ เเตมมิได้ร่วมกันกระทำละเมิดต่อตูม เพราะมิได้มีเจตนาหรือความมุ่งหมายร่วมกันเเละกระทำร่วมกัน เป็นเรื่องต่างคนต่างมีเจตนามุ่งหมายเเละต่างคนต่างกระทำต่อ ตูม
-
ป.พ.พ.มาตรา 424 ในการพิพากษาคดีข้อความรับผิดเพื่อละเมิดและกำหนดค่าสินไหมทดแทนนั้น ท่านว่าศาลไม่จำต้องดำเนินตามตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายลักษณะอาญาอันว่าด้วยการที่จะต้องรับโทษ และไม่จำต้องพิเคราะห์ถึงการที่ผู้กระทำผิดต้องคำพิพากษาลงโทษทางอาญาหรือไม่
บุคคลถูกฟ้องทั้งคดีส่วนเเพ่งเเละคดีอาญาในเรื่องเดียวกันการพิพากษาคดีเเพ่งศาลต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฎในคำพิพากษาคดี ส่วนอาญา ปวอ.มาตรา 46เเละคู่ความที่จะผูกพันโดยข้อเท็จจริงที่วินิจฉัยเเล้วนั้นต้องเป็นคู่ความในคดีอาญาด้วย
ฎ1229/2498 ศาลพิพากษายกฟ้องคดีอาญาเพราะจำเลยไม่มีเจตนาบุกรุกที่ดิน ไม่ได้ชี้ว่าที่ดินของใคร โจทก์ฟ้องคดีเเพ่งให้ศาลวินิจฉัยเเสดงกรรมสิทธิ์ห้ามมิให้จำเลยเกี่ยวข้องได้
-
ตัวอย่าง ถ้า ก.ยกเเก้วน้ำขึ้นดื่มดังนี้ย่อมเป็นการกระทำของ ก.เพราะ ก. รู้สึกในความเคลื่อนไหวของตนเองที่ยกเเก้วน้ำขึ้นดื่ม
ตัวอย่างเช่น บอม ชกต่อย เเบม เพื่อนกันโดยที่เเบมไม่ยินยอม หรือ บูม เอารถยนต์ของ บีม ไปใช้โดยที่บีมไม่อนุญาติ เป็นกรณีที่ บอม เเละ บูมเเล้วเเต่กรณีไม่มีสิทธิกกระทำจึงไม่อาจพิจารณาตามมาตรา421
-
-
-
-
-
-
-
1.มีหน้าที่ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
2.หน้าที่ตามสัญญา การยอมรับโดยเฉพาะ
3.หน้าที่จากการกระทำของตน
4.หน้าที่จากความสัมพันธ์พิเศษ
ฎ378/2499คณะสงฆ์ประกาศมิให้รับโจทย์ไว้ในสำนักว่าโจทย์ประพฤติตนคลุกคลีกับมาตุคามจน๔ูกบังคับให้สึก เป็นข้อความที่ไม่ทำให้เข้าใจว่าโจทก์เสพเมถุนกับมาตุคามไม่เป็นละเมิด
ฎ2342/2527 การขับรถยนต์จะผ่านทางรถไฟเเม้ไม่มีป้าย สัญญาณ หยุด บอกไว้ เเต่ก็มีป้ายบอกเครื่องหมายว่ามีทางรถข้างหน้าเเสดงไว้ ซึ่งควรใช้ความระมัดระวังดูความปลอดภัยให้เเน่เสียก่อนดดยชะลอความเร็วเเละหยุดรถมองซ้ายเเละขวา ต่อเมื่อเห็นว่าความปลอดภัยจึงขับต่อไป เเต่ไๆม่ปรากฎว่าได้ปฏิบัติดังกล่าวเมื่อรถยนต์ที่จำเลยขับชนกับรถไฟจึงเป็นความประมาทของจำเลย
การร่วมการทำละเมิดเป็นเรื่องที่บุคคลหลายคนร่วมกันทำละเมิด ไม่ใช่เรื่องบุคคลเป็นเครื่องมือกระทำละเมิด การ่วมละเมิดย่อมเป็นความรับผิดในการกระทำของตนเองตรามกฎเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา 420
ฎ730/2493 ขายเรือนของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจ ผู้ซื้อรู้เเล้วก็ยังขืนซื้อไว้ ผู้ที่ช่วยรื้อเรือนไปก็รู้ความจริงอยู่ด้วย ทั้ง3คนต้องรับผอกฐานละเมิดร่วมกัน
ผู้ร่วมกันกระทำละเมิดต้องร่วมกันรับผิดต่อสู้เสียหาย ผู้เสียหายสามารถเรียกร้องให้ผู้กระทำละเมิดคนใดคนหนึ่งชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้อย่างสิ้นเชิง โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้ละเมิดคนนั้นจะมีส่วนกระทำให้เกิดความเสียหายมากน้อยเพียงใด ซึ่งมีฐานะเช่นเดียวกับลูกหนี้ร่วมตามหลักในมาตรา 291 ซึ่งหมายถึงความรับผิดระหว่างผู้ร่วมกันทำละเมิดกับผู้เสียหาย
การทำให้ทรัพย์เขาเสียหายโดยผิดกฎหมายเป็นละเมิด เมื่อร่วมกันกระทำก็เป็นการร่วมกันทำละเมิดและต้องร่วมกันรับผิด กฎหมายมุ่งหมายถึงการกระทำ มิใช่ดูผลของความเสียหายว่าแยกกันได้หรือไม่ แม้จะไม่รู้ตัวว่าคนไหนก่อให้เกิดเสียหาย แต่ถ้าเป็นพวกที่ทำละเมิดร่วมกันแล้ว ก็ต้องรับผิดร่วมกันทั้งหมดตาม ป.พ.พ.มาตรา 432
ในกรณีที่มิใช่การร่วมกันกระทำละเมิดแต่เป็นเรื่องต่างคนต่างทำ ถ้าความเสียหายแยกจากกันได้ เช่นนี้ ก็ต้องต่างคนต่างรับผิดในผลการละเมิดที่ตนกระทำ เช่น ก. และ ข. ต่างเข้าไปทำลายทรัพย์สินของผู้เสียหายโดย ก. ทำลายเก้าอี้ ส่วน ข. ทำลายโต๊ะ เห็นได้ว่าความเสียหายแยกจากกันได้ โดย ก. ต้องใช้ค่าเก้าอี้ และ ข. ต้องใช้ค่าโต๊ะให้ผู้เสียหาย
-