Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดของบุตตลใน การกระทำของตนเอง - Coggle Diagram
ความรับผิดของบุตตลใน การกระทำของตนเอง
ความหมายของการกระทำ
การกระทำ
หมายถึง ความเคลื่อนไหวของบุคคลโดยรู้สึกในความเคลื่อนไหวของตนและหมายถึงการงดเว้นหรืดละเว้นไม่กระทำการตามหน้าที่ที่ต้องกระทำ
ตัวอย่างเช่น
ก.ยกเก้าอี้ไปไว้ ย่อมเป็นการกระทำของ ก. เพราะ ก.รู้สำนึกในความเคลื่อนไหว
ตัวอย่างเช่น
เด็กอายุ4-5ขวบ เกิดโทสะ จึงเอาไม้ไล่ตีเพื่อนที่เล่นอยู่ด้วยกัน ย่อมเป็นการกระทำ
หรือถ้าผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจิตที่ไม่รู้สำนึกในการเคลื่อนไหวของตนเองก็ย่อมไม่ถือเป็นการกระทำ เช่นว่านี้ก็ไม่ถือว่าเป็นการกระทำโดยละเมิดอันจะต้องรับผิดในมาตรา420และ429
มาตรา429ที่บัญญัติว่า
"บุคคลใดแม้ไร้ความสามราถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริตก็ต้องรับผิดในผลที่ตนทำละเมิด..."
การงดเว้นไม่กระทำ
คำว่า
การกระทำ
ตามมาตรา420มิได้หมายความแต่เพียงการกระทำในทางเครื่องไหวร่างกาย ยังหมายถึงการงดเว้นไม่กระทำ
ต้องเป็นการละเว้นหรือไม่ละเว้นไม่กระทำการที่มีหน้าที่ต้องทำ
การกระทำโดยจงใจหรือ
ประมาทเลินเล่อ
มาตรา420
“ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”
การกระทำโดยจงใจ
หมายถึง กระทำโดยรู้สำนึกถึงผลเสียหายที่จะเกิดจากการกระทำของตน
ตัวอย่างเช่น
ก.ชกต่อย ข.โดยคิดจะให้ ข. เพียงแค่ปากแตกเลือดไหล บังเอิญ ข. ล้มลงศรีษะฟาดกับพื้นถนนศรีษะแตกและสลบไป ดังนี้ ก.ทำร้ายร่างกาย ข. โดยจงใจ
ประมาทเลินเล่อ
หมายถึง ไม่จงใจ แต่ไม่ใช้ความระมัดระวังตามความสมควรที่จะใช้
ตัวอย่างเช่น
ก. ขับรถยนต์ด้วยความเร็วแล้วเฉี่ยวชน ข. ที่เดินบนทางเท้าได้รับรับบาดเจ็บ ดังนั้น ก.กระทำโดยประมาทเลินเล่อ
การกระทำความผิดโดยผิดกฎหมาย
การใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น
“มาตรา 421 การใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้น ท่านว่าเป็นการอันมิชอบด้วยกฎหมาย”
มาตรา421 เป็นบทขยายของคำว่า"โดยผิดกฎหมาย"ในมาตรา420 คือต้องมีการกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อให้บุคคลเสียหาย
มาตรา421นี้เป็นบทบัญญัติถึงผลอันสืบเนื่องมาจากมาตรา5อันเป็นหลักทั่วไป ซึ่งบัญญัติว่าในการใช้สิทธิบุตตลต้องทำโดยสุจริต
การกระทำโดยผิดกฎหมายมีความหมายกว้าง ไม่ใช่หมายแต่เพียงฝ่าฝืนกฎหมายที่บัญญัติไว้ชัดแจ้ง แต่รวมถึงการกระทำไม่มีสิทธิหรือข้อแก้ตัวตามตัวกฎหมาย
การกระทำฝ่าฝืนบทบังตับแห่งกฎหมาย
มาตรา 422 บัญญัติว่า
"ถ้าความเสียหายเกิดแต่การฝ่าฝืนเช่นนั้น ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นเป็นผู็ผิด"
หลักเกณฑ์ในมาตรา420ที่ว่ามีการกระทำโดยผิดกฎหมายจงใจหรือประมาทเลินเล่อเป็นอันสันนิษฐานได้ตามมาตรา422
กฎหมายที่มีการฝ่าฝืนนั้นต้องมีที่ประสงค์จะป้องกันความเสียหายแก่บุคคลอื่น
การกระทำที่ก่อให้ความเสียหายแก่บุคคลอื่น
ความเสียแก่ผู้อื่น หมายถึง ความเสียหายที่เกิดแก่สิทธิของบุคคลอื่น
ความเสียหายต่อสิทธิ
กฎหมายอาญาได้บัญญัติรับรองไว้เป็นความผิดต่อร่างกายหรือทรัพสิน
ตัวอย่างเช่น
ก.เตะฟุตบอลถูกประตูบ้าน ข.แต่ประตูบ้านไม่หักพัง ไม่จำเป็นต้องซ่อมแซ่มเปลี่ยนใหม่
ความคิดเห็นของบุคคลธรรมดาโดยทั่วไปมองว่าไม่เกิดความเสียหายแก่ ข.
แต่ในสายตากฎหมายย่อมถือว่าเกิดความเสียหายแก่ ข.
ลักษณะแห่งสิทธิ
"สิทธฺ"
คือ ประโยชน์ที่บุคคลมีอยู่และบุคคลมีหน้าที่เคารพ
ตามมาตรา420ที่กล่าวถึงชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน สิ่งต่างๆเหล่านี้ย่อมเป็นวัตถุแห่งสิทธิ
สิ่งที่ไม่เป็ฯตัวตนซึ่งไม่สามราถสัมผัสแตะต้องได้ เช่น ชื่อเสียง
สิทธิในหน้าที่
ตัวอย่างเช่น
ก.เช่าบ้าน ข. เพื่ออยู่อาศํย ก. จึงมีสิทธิที่จะใช้หรือได้ประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่ามา
ความเสียหายนั้นเป็นผลมาจากการกระทำของผู้ทำความเสียหาย
ตามกฎฆมายไทยเห็นว่าควรใช้ทฤษฎีความเท่ากันแห่งเหตุหรือทฤษฎีเงื่อนไขบังคับ แต่ศาลอาจให้จำเลยรับผิดทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วนหรือยกเว้นความผิดเสียก่อน
ผลที่ต้องรับผิดนั้นควรอยู๋ในขอบเขตใด ปัญหานี้ต้องพิจารณาข้อเท็จ โดยอาศัยตรรกวิทยา
โดยอาศัยตรรกวิทยา
ความคิดธรรมดา
ความยุติธรรม
นโยบายและบรรทัดฐานที่มีมา
1.ทฤษฎีความเท่ากันแห่งเหตุหรือทฤษฏีเงือนไข
ตัวอยาง
ก.ทำร้ายร่างกาย ข. โดยชกที่ท้องเบาๆ ปรากฎว่า ข. มีโรคร้ายประจำตัว ซึ่งถ้าหากถูกกระทบกระเทือนอย่างแรง ข. อาจตายได้ แต่ ก. ไม่ทราบมาก่อน ข. ถึงแกความตาย ดังนี้ ความตาย ข. เป็นผลมาจากการกระทำของ ก. แม้ ก. จะไม่รู้ว่า ข. เป็นโรดดังกล่าว คิดแต่เพียงว่า ข. ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย แต่ ก. ก็ต้องรับผิดในความตาย ข.
ผลที่เกิดขึ้นนั้นเป็นผลอันเกิดจากการกระทำที่ถูกกล่าวหา
ผลอันใดอันหนึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุหลายประการ
2.ทฤษฎีมูลเหตุเหมาะสม
บรรดาเหตุทั้งหลายที่ก่อขึ้นนั้น ในแง่ความรับผิดของผู้กระทำการใดๆ เฉพาะแต่เหตุปกติย่อมก่อให้เกิดผลเช่นนั้นผู้กระทำจะต้องรับผิด
ผู้กระทำละเมิดต้องรับผิดโดยไม่มีขอบเขต ตลอดจนถึงความเสียหาย
ผลผู้กระทำละเมิดตั้งใจจะก่อแกก่ผู้เสียหายแล้วผู็กรพทำก็ต้องรับผิดไม่ว่าผลจะเป็นยังไง จะถือไกลกว่าเหตุไม่ได้
ตัวอย่างเช่น
ดังกล่าว ถ้า ก. รู้ดีว่า ข. มีโรคร้ายประจำตัวจึงได้ทำร้าย ข.ตาย ก. ต้องรับผิดในความตายของ ข.