Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดเพื่อละเมิดจากการกระทำของตยเอง - Coggle Diagram
ความรับผิดเพื่อละเมิดจากการกระทำของตยเอง
มาตรา 420 , 423 ,428 ,432
ม.420 หลักเกณฑ์ของละเมิด
ผู้ใดกระทำ
โดยจงใจหรือ
ประมาทเลินเล่อ
ผู้ใด
บุคคลธรรมดา
นิติบุคคล
กระทำ
ตาม ป.อ. มาตรา 59 = การเคลื่อนไหวร่างกาย
การกระทำ
โดยรู้สำนึก
รวมถึงการงดเว้น (ไม่เคลื่อนไหวร่างกาย)โดยรู้สำนึกทั้งผู้งดเว้นมีหน้าที่กระทำเพื่อป้องกันผล
ประมาท
-ไม่ใช้ความระมัดระวัง
กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
ทำให้เขาเสียหายแก่
ชีวิต
ร่างกาย
อนามัย
เสรีภาพ
ทรัพย์สิน
หรือสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่ง
การกระทำสำคัญกับผล
ผู้ทำละเมิดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
หน้าที่ได้แก่
1.หน้าที่ตามกฎหมาย/ระเบียบบังคับต่างๆ
2.หน้าที่ตามสัญญา/การยอมรับโดยเฉพาะ
3.หน้าที่จากการกระทำก่อนๆของตน
4.หน้าที่จากความสัมพันธ์พิเศษ
การกระทำสัมพันธ์กับผล มี 2 ทฤษฎี
1.ทฤษฎีเงื่อนไข
ดูว่าถ้าตัดการการทำนั้นออก ความเสียหายยังคงเกิดขึ้นอยู่หรือไม่?
ตัดแล้ว
เกิด = ไม่สัมพันธ์
ไม่เกิด = สะมพันธ์
ทฤษฎีมูลเหตุที่เหมาะสม(ใช้ดูเวลามีเหตุแทรกแซง)
ดูว่าเหตูแทรกแซงนั้นวิญญูชนทั่วไปสามารถคาดหมายได้หรือไม่?
คาดหมายได้ = สัมพันธ์
คาดหมายไม่ได้ = ไม่สัมพันธ์
เหตุแทรกแซง
1.เหตุการณ์ธรรมชาติ
เหตุจากผู้เสียหายเอง
เหตุจากตัวผู้กระทำละเมิด
4เหตุจากบุคคลภายนอก
เช่น แพทย์
ม. 423 หมิ่นประมาททางแพ่ง
ม. 423 ว.1
ผู้ใดกล่าว หรือ ไขข่าว อันฝ่าฝืนต่อความจริง
กล่าว = ใช้วาจา
ไขข่าว = การกระทำอันใดที่ทำให้ข้อมูลแพร่ออกไป เช่น การเขียน ตัดต่อภาพ แสดงละคร เป็นต้น
ฝ่าฝืนต่อความจริง = เท็จ
แพร่หลาย
มีบุคคลที่ 3 รับรู้
เป็นที่เสียหายแก่
ชื่อเสียง หรือ เกียรติคุณ หรือ ทางทำมาหาได้ หรือ ทางเจริญ
ผู้อื่น
การกระทำสัมพันธ์กับผล
ม.423 ว.2
ข้อยกเว้นของการหมิ่นประมาททางแพ่ง
1.ผู้ส่งสารไม่รู้ว่าเป็นความไม่จริง
2.ผู้รับสาร/ส่งสารต้องมาทางได้เสียโดยชอบ
เช่น มารดามีส่วนได้เสียโดยชอบในเรื่องคู่ครองของบุตร
บุคคลที่ไม่ถือว่าเป็นบุคคลที่ 3
1.ผู้ร่วมกระทำละเมิด
2.สามี-ภรรยา
*3.ผู้แแอบฟัง/แอบอ่านข้อความ
ความรับผิดของตัวผู้ว่าจ้าง