Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
100-400-2 - Coggle Diagram
100-400-2
บทที่1 :forbidden:แนวคิดเชิงคำนวณ
การแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย
เป็นการแยกส่วนประกอบเป็นวิธีคิดรูปแบบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณ เป็นการพิจารณาเพื่อแบ่งปัญหาหรืองาน ออกเป็นส่วนย่อย ทำให้สามารถจัดการปัญหาหรืองานให้ง่ายขึ้น
การเเก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนทำได้อยาก การแบ่งปัญหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อยๆ ทำให้มีความซับซ้อนของปัญหาน้อยลง
การพิจารณารูปแบบ
การพิจารณารูปแบบเป็นการหารูปแบบซึ่งเป็นทักษะการหาความสัมพัรธ์ที่เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ ทั่วไปของสิ่งต่างๆ การหารูปแบบเพื่อสร้างความเข้าใจองค์ประกอบนั้นๆ
การคิดเชิงนามธรรม
การคิดเชิงนามธรรมเป็นนามธรรมจึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณ ซึ่งใช้ประกอบการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อย ในปัญหาหรืองานที่กำลังพิจารณา เพิ่อให้ได้ขอมูลที่จำเป็นและเพียงพอในการแก้ปัญหา
การออกแบบอัลกอริทึม
เป็นการพัฒนากระบวนการหาคำตอบให้เป็นขั้นตอนที่บุคคลหรือคอมพิวเตอร์สามารถนำไปปฏิบัติตามเพื่อเเก้ปัญหาได้ อัลกอริทึมที่ดี จะต้องมีความถูกต้อง ต้องมีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน มีความยืดหยุ่นในการทำงาน ใช้เวลาในการพัฒนาน้อย และง่าย
บทที่3 ข้อมูล การแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี
การประมวลผล
ข้อมูล คือข้อเท็จจริง ที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข ลักษณ์พิเศษ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งสามารถบันทึกไว้ได้อย่างต่อเนื่อง
ลักษณะข้อมูลที่ดี
1.ความถูกต้องแม่นยำ มีความถูกต้องและทันเวลา
2.ความสมบูรณ์ครบถ้วน ข้อมูลที่รวบรวมมาเป็นข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง
3.ความกะทัดรัด
4.ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และจำเป็นต่อผู้รู้
5.ความต่อเนื่อง ต้องดำเนินอย่างสม่ำเสมอ
กระบวนการวิทยาการข้อมูล
การเพิ่มข้อมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์หรือให้บริการด้วยข้อมูลนั้น บริการแล้วมูลนั้น นอกจากจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกัผลิตภัณฑ์หรือบริการแล้ว ยังต้องเข้าใจกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดหาและประมวลผลข้อมูลอีกด้วย เนื่องจากกิจกรรมที่ต้องทำค่อนข้างหลากหลาย เพื่อไม่ให้สับสนหรือพลาดประเด็นใดไป สามารถดำเนินตามกระบวนการของ วิทยาการข้อมูลขั้นตอนสำคัญต่างๆที่ประกอบด้วย การตั้งคำถาม การเก็บข้อมูล การสำรวจข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสื่อสารและการทำผลลัพธ์ให้เป็นภาพสู่ผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย
บทที่2 การเเก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การนิยามปัญหา สิ่งที่เราต้องทำความเข้าใจประเด็นหลักอยู่ที่ไหนผลลัพธ์ที่ได้คืออะไร
การวิเคราะห์ปัญหา การหาผลลัพธ์ของปัญหามีการนำเข้าอะไรบ้างที่ทำให้ได้ผลลัพธ์ต้องทราบวิธีการปะมวลผลหรือวิธีการได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
การออกแบบอัลกอริทึมเป็นการพัฒนากระบวนการหาคำตอบให้เป็นขั้นตอนที่บุคคลหรือคอมพิวเตอร์สามารถนำไปปฏิบัติตามเพื่อแก้ปัญหาได้ อีกทั้ง เป็นการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อดำเนินตามทีละขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา
การพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนนี้เป็นการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่งขึ้นมา โดยเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับลักษณะ ประเภทของงาน
การทดสอบความถูกต้องเป็นการตรวจสอบจุดผิดพลาดของโปรแกรม ที่เขียนขึ้น และดำเนินการแก้ไขข้อผิดพลาดนั้น
การจัดทำเอกสารการอธิบายรายละเอียดของโปรแกรมว่า จุดประสงค์ของโปรแกรมคืออะไร สามารถทำงานอะไรได้บ้าง และมีขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมเป็นอย่างไร ฯลฯ เครื่องมือที่ช่วยในการออกแบบโปรแกรมเช่น ผังงาน หรือ รหัสจำลอง ก็สามารถนำมาประกอบกันเป็นเอกสารประกอบโปรแกรมได้
การบำรุงรักษาขั้นตอนนี้คือขั้นตอนสุดท้ายเมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และถูกนำมาให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน ในช่วงแรกผู้ใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจทำให้เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทำงาน การบำรุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่ผู้เขียนโปรแกรม ต้องคอยเฝ้าดู และหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรมในระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรมและปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น
การออกแบบขั้นตอนวิธี
เป็นขั้นตอนการเเก้ไขปัญหาอย่างเป็นลำดับ โดนประกอบคำสั่งการทำงานอย่างชัดเจน