Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดเพื่อกระทำละเมิดของตนเอง, นางสาว ณฐิกา โคตรจันทร์ รหัสนิสิต…
ความรับผิดเพื่อกระทำละเมิดของตนเอง
มีความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทํากับผล เมื่อเข้า หลักเกณฑ์ตามมาตรา 420 ครบถ้วน ผู้กระทํา จะต้องรับผิดในความเสียหายนั้น
ความเสียหายที่คำนวนเป็นเงินได้
ความเสียที่ขาดการทำมาหากิน
ความเสียหายที่คำนวนเป็นเงินไม่ได้
ความเสีหายทางด้านจิตใจ
เป็นการกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ
จงใจ คือ การกระทำโดยรู้สำนึกถึงผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำของตน
ประมาทเลินเล่อ คือ การกระทำโดยไม่จงใจ แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่
ภาวะ หมายถึง สถานการณ์เช่นนั้นจะกระทำเหมือนผู้กระทำหรือไม่
บุคคล หมายถึง เพศ อายุ ฐานะ อาชีพ อย่างเดียวกับผู้กระทำ
วิสัย หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่เป็นผู้กระทำ
พฤติการณ์ หมายถึง เหตุการณ์ภายนอกประกอบการกระทำ
เช่น นาย เขียว.ขับรถยนต์ไปในถนนที่มีคนเดินด้วย ความเร็วและไม่ได้ให้สัญญาณแตรแล้วเฉี่ยวชนถูกคนเดินถนนได้รับบาดเจ็บ ดังนี้ถือว่า นาย เขียว.กระทาละเมิดโดยประมาทเลินเล่อ
เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย
การทำละเมิดต้องเป็นการทำต่อบุคคลอื่น “โดยผิดกฎหมาย” อาจผิดต่อกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง รัฐธรรมนูญ ล่วงสิทธิผิดต่อบุคคลอื่น หรืออาจเป็นการฝ่าฝืนไม่ทำหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด รวมถึงผิดระเบียบต่างๆ ก็ถือว่าเป็นการผิดกฎหมาย แต่หากการกระทำนั้นไม่ผิดกฎหมายก็ไม่เป็นละเมิด เช่น กฎหมายให้อำนาจโดยตรง มีอำนาจตามสัญญาที่ให้กระทำได้ มีอำนาจตามคำพิพากษา หรือเกิดอำนาจจากความยินยอม
กระทำโดยทำให้ผู้อื่นเสียหายโดยกฎหมายต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
กระทำโดยมีสิทธิตามกฎหมายคือผู้กระทำมีอำนาจกระทำได้แม้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นก็ไม่ผิดกฎหมาย
มีความเสียหาย
ความเสียหายนั้นจะเป็นความเสียหายที่เกิดแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ แต่ต้องเป็นความเสียหายที่แน่นอน และความเสียหายจะต้องเป็นผลโดยตรงจากการกระทำโดยผิดกฎหมายของผู้กระทำด้วย การกระทำจะเป็นละเมิดหรือไม่ ต้องมีความเสียหายเกิดขึ้น แม้มีการกระทำที่ผิดกฎหมาย แต่ไม่มีความเสียหายย่อมไม่เป็นละเมิด
ทฤษฏีเงื่อนไข
เหตุทุกเหตุมีน้ำหนักเท่ากัน
ถ้าไม่มีการกระทำนั้นความเสียหายย่อมไม่เกิด
ทฤษฎีมูลเหตุเหมาะสม
ผลที่ผู้กระทำต้องรับผิดตามกฎหมาย
นางสาว ณฐิกา โคตรจันทร์ รหัสนิสิต 64012310237 เซค2 เลขที่91