Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Cholangitis (ท่อน้ำดีอักเสบเฉีบพลัน) - Coggle Diagram
Acute Cholangitis (ท่อน้ำดีอักเสบเฉีบพลัน)
ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal data)
ผู้ป่วยเพศ หญิง อายุ 74 ปี เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 สถานภาพ สมรส อาชีพ รับจ้าง รายได้ 600 บาท/เดือน
การวินิจฉัย
Acute Cholangitis : ท่อน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน
อาการ
2 อาทิตย์ก่อนมาโรงพยาบาล ปวดท้องเป็นๆหายๆ อาเจียน ไข้ รับประทานอาหารได้น้อย มีตัวตาเหลืองร่วม 3 วัน ไปตรวจ lab พบ AST , ALT สูง
พยาธิสภาพ
พยาธิสรีระวิทยา (pathophysiology)
โรคถุงน้ำดีอักเสU (cholecystitis) เป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบของถุงน้ำดีซึ่งเมื่อเกิดขึ้นทันทีและมีอาการรุนแรงแต่รักษาหายได้ภายใน 1-2 สัปดาห์ เรียกว่า โรคถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน (acute cholecystitis) แต่ถ้าการอักเสบเกิดขึ้นบ่อยครั้งช้ำ ๆ แต่ละครั้งไม่รุนแรงและมักมีอาการอักเสบไม่ชัดเจนเรียกว่า โรคถุงน้ำดีอักเสบเรื้อรัง (chronic cholecystitis) การอักเสบของถุงน้ำดีมักเกิดจาก
2 สาเหตุ คือจากนิ่วในถุงน้ำดีและไม่ใช่จากนิ้วในถุงน้ำดี สาเหตุจากนิ่วในถุงน้ำดี โดยก้อนนิ่วจะไปอุดตันท่อน้ำดี สาเหตุที่ไม่ใช่จากนิ่วในถุงน้ำดีซึ่ง เช่น เกิดจากการฉีกขาดหรือติดเชื้อแบคที่เรียของถุงน้ำดี เนื้องอกของถุงน้ำดีหรือท่อน้ำดี ท่อน้ำดีตีบดันเมื่อมีการอุดตันที่ทางเดินน้ำดี เมื่อเหตุการณ์ดำเนินต่อไป การอักเสบก็จะลุกลามเข้าไปในเชื่อบุช่องท้องของกระเพาะอาหารและตับ โดยก้อนนิ่วจะไปอุดตันท่อน้ำดี ได้แก่ เกิดจากปัจจัยหลายอย่าง ทั้งปัจจัยเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อม เมตาบอลิซึมของร่างกายแต่ละคน ปัจจัยทางพันธุกรรม วิถีการ ดำเนินชีวิต และอุปนิสัยการบริโภคอาหาร สารก่อนิ่วที่มีอยู่ในปัสสาวะตามปกติ ได้แก่ แคลเซียม ฟอสเฟต ออกซาเลต ยูเรต ในภาวะที่มีปริมาณผิดปกติ และสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยสารเหล่านี้สามารถรวมตัวกัน จนกลายเป็นก้อนผลึกแข็ง และมีขนาดใหญ่ขึ้นจนกลายเป็นนิ่วอุดตันที่บริเวณต่างๆของทางเดินปัสสาวะปัจจัยเสี่ยงต่อโรคนิ่วอาจแบ่งได้เป็น
ข้อวินิจฉัย
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้อง
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินอาการปวดท้องระดับความรุนแรง
2.จัดท่าและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
3.ให้ยาแก้ปวดท้องตามแผนการรักษา
4.ติดตามอุณหภูมิของร่างกาย ถ้ามีไข้ขึ้นทันทีทันใดให้รายงานแพทย์
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบายอาการปวดท้องลดลง
มีความวิตกกังวลกับโรคที่เป็น
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวล
.ผู้ป่วยมีสีหน้าดีขึ้น ไม่มีอาการวิตกกังวล
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความวิตกกังวลและความเข้าใจเกี่ยวกับโรค สอบถามและอธิบายเกี่ยวกับอาการของโรคของผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดในเรื่องที่ผู้ป่วยไม่สบายใจ ดูแลผู้ป่วยอย่างนิ่มนวล พูดคุยเป็นกันเอง