Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของช่องทางคลอด, จัดทำโดย - Coggle Diagram
ความผิดปกติของช่องทางคลอด
ทางเข้าช่องเชิงกรานเเคบ (Pelvic inlet contraction)
เส้นผ่านศูนย์กลางวัดจากด้านหน้าไปด้านหลังของPelvic inlet contraction น้อยกว่า 10 cm = ปกติ 10.5 cm
เส้นผ่าศูนย์กลางแนวขวาง (transverse diameter)น้อยกว่า 12 cm = ปกติ 13.5 cm
ทารกใช้ส่วน biparietal diameter กว้างประมาณ 9.5 cm ผ่านเข้า pelvic inlet = pelvic inlet > 10 cm
การประเมินและการวินิจฉัย
พบว่าศีรษะทารกไม่ Engagement
คลำพบ sacral promontory หรือวัด diagonal conjugate ≤ คลำได้ขอบด้านหน้าของ pelvic inlet ทั้ง 2 ข้าง พบว่า transverse diameter สั้น หรือดันยอดมดลูกศีรษะทารกไม่เคลื่อนต่ำลง
ภาพถ่ายรังสีพบ ture conjugate < 10 cm
และ transverse diameter <12
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ประเมินขนาดศีรษะทารก
แนวทางการรักษา
ดูแลอย่างใกล้ชิดเฝ้าระวังภาวะมดลูกแตก
ประเมินองค์ประกอบต่างๆ เช่น ส่วนนำ ขนาดของศีรษะทารก ขนาดช่องเชิงกราน การหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินภาวะ fetal distress
ส่วนกลางของเชิงกรานแคบ ( Mid pelvic contraction )
ผลรวมของค่า interspinous diameter และ posterior sagittal diameter น้อยกว่าหรือเท่ากับ13.5 cm (ค่าปกติ 10.5+5=15.5cm )
ค่า interspinous diameter น้อยกว่า9 ( ค่าปกติ 10.5-11 cm )
การประเมินและวินิจฉัย
คลำ พบ ischial spine ยื่นนูน ส่งผลทำให้เกิดการคลอดล่าช้าในระยะที่ 1 และในระยะที่ 2 ของการคลอด ไม่เกิดการหมุนของศีรษะ ทารก(internal rotation) เกิด transverse arrest of fetal head
ตรวจพบ sagittal suture อยู่ในแนวขวาง
แนวทางการรักษา
1.ถ้าช่องเชิงกรานส่วนนี้แคบไม่มาก พยายามให้คลอดทางช่องคลอด
2.หลีกเลี่ยงการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
3.พิจารณาช่วยคลอดด้วยเครื่องสุญญากาศ เนื่องจากมีความปลอดภัยกว่าการคลอดด้วยคีม
4.กรณีทารกตัวโตและช่องเชิงกรานแคบมากให้พิจารณาผ่าตัดคลอด
ช่องทางคลอดอ่อนผิดปกติ (Abnormalities of soft passages)
ความผิดปกติของช่องคลอด
มะเร็วปากมดลูก
ปากมดลูกตีบหรือแข็ง
ปากมดลูกบวม
ความผิดปกติของปากช่องคลอด
ฝีเย็บแข็งตึง (rigid perineum)
ปากช่องคลอดบวมหรือมีก้อนเลือดคั่ง
การตีบแคบของปากช่องคลอด
การอักเสบหรือเนื้องอก
ความผิดปกติของมดลูก
1.มดลูกคว่ำหน้า(anteflexion)
2.มดลูกคว่ำหลัง(retroflexion)
3.มดลูกหย่อน (prolapsed uterus)
4.เนื้องอกมดลูก(myoma)
ความผิดปกติของรังไข่
เนื้องอกรังไข่
ผลกระทบช่องทางคลอดอ่อนผิดปกติ
1.การคลอดยาวนาน
2.การคลอดทางช่องคลอดไม่ได้
3.การใช้สูติศาสตร์หัตถการณ์ในในการช่วยคลอด
กาพยาบาล
ประเมินและติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ให้การพยาบาลที่ส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
รายที่มดลูกคว่ำาหน้า ส่วนนำไม่ลงสู่ช่องเชิงกรานให้รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาผ่าตัดคลอด
รายที่มีปากมดลูกบวม แนะนำให้นอนตะแคงซ้ายหรือนอนยกเท้าสูงเพื่อลดการกดทับศีรษะกับปากมดลูก หากผู้คลอดอยากเบ่งขณะที่ปากมดลูกเปิดไม่หมด แนะนำให้หายใจเข้าลึกๆทางจมูกและออกทางปากอย่างช้าๆ
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการผ่าตัดคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอดโดยเน้นการการหดรัดตัวของมดลูก การดูแลกระเพาะปัสสาวะให้โล่ง และการตกเลืดจากแผลฝีเย็บ
ช่องทางออกของเชิงกรานแคบ (Pelvic outlet contraction)
Intertuberous diameter น้อยกว่าหรือเท่ากับ 8 cc
มุมใต้กระดูกหัวเหน่า (subpubic angle) กว้างน้อยกว่า 85 องศา
การประเมินและวินิจฉัย
สามารถประเมินได้เมื่อปากมดลูกเปิดหมด และผู้คลอดเบ่งจะพบศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงมามองเห็นได้ชัดเจน แต่เมื่อผู้คลอดหยุดเบ่งศีรษะทารกจะถอยย้อยกลับ
แนวทางการรักษา
ผู้คลอดที่มีช่องทางออกแคบ มักไม่ทำให้เกิดการคลอดยากแต่จะทำให้เกิดการฉีกขาดของฝีเย็บ
ควรตัดฝีเย็บกว้างเพื่อลดการฉีกขาดของฝีเย็บ
Pelvic contraction
ภาวะศีรษะทารกและช่องเชิงกรานไม่ได้สัดส่วน
(Cephalopelvic disproportion : CPD)
ภาวะไม่ได้สัดส่วนอย่างแท้จริง (true disproportion )
ทารกมีศีรษะเป็นส่วนนำอยู่ในทรงและท่าปกติ ส่วนที่จะผ่านช่องเชิงกรานเป็นส่วนที่เล็กที่สุด แต่ไม่สามารถผ่านออกมาได้
การไม่ได้สัดส่วนแบบสัมพัทธ์ (telative disproportion)
ทารกมีส่วนนำอยู่ในทรงและท่าผิดปกติ ทำให้ส่วนที่จะผ่านช่องเชิงกรานมีขนาดใหญ่ จึงไม่สามารถผ่านออกมาได้
การวินิจฉัย
1.First-state arrest ในกรณีที่มดลูกหดรัดตัวดีแต่ปากมดลูกหยุดเปิดที่ 6 ซม. และไม่มีการเปลี่ยนแปลงอีกอย่างน้อย 4 ชม. โดยที่ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว และอย่างน้อย 6 ชม.ในกรณีที่มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
2.Second-state arrest คือไม่มีความก้าวหน้าของการคลอดเลย ในกรณีต่อไปนี้
-4 ชม.หรือมากกว่า ในครรภ์แรกที่ใช้ epidural block
-3 ชม.หรือมากกว่า ในครรภ์แรกที่ไม่ใช้ epidural block
-3 ชม.หรือมากกว่า ในครรภ์หลังที่ใช้ epidural block
-2 ชม.หรือมากกว่า ในครรภ์หลังที่ไม่ใช้ epidural block
3.Failed induction of labor ไม่สามารถชักนำการคลอดได้ แม้เจาะถุงน้ำคร่ำแล้วอย่างน้อย 24 ชม.
ผลกระทบ เช่น คลอดยาก คลอดยาวนาน คลอดติดขัด มดลูกแตก สายสะดือพลัดต่ำ ทารกขาดออกซิเจน ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด ช่องทางคลอดฉีกขาดมาก มารดาอ่อนเพลียมาก
แนวทางการรักษา พิจารณา C/S แต่ในบางรายแพทย์อาจให้ทดลองคลอดทางช่องคลอด
ช่องเชิงกรานผิดปกติทุกส่วน (generally pelvis contracted)
สาเหตุ
กระดูกเชิงกรานหัก หรือบิดเบี้ยว
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุ
ช่องเชิงกรานแคบ (contracted pelvis)
โรคกระดูกบางชนิด เช่น Poliomyelitis, kyphoscoliosis
ผลกระทบ
มารดา
อ่อนเพลีย
การคลอดล่าช้า
ส่วนนำที่ลอยอยู่เหนือช่องเชิงกราน
Pathological ring หรือ bandle’s ring เสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลูกแตก
ทารก
ส่วนนำหรือท่าที่ผิดปกติ
ภาวะสายสะดือย้อย
อันตรายจากการคลอด
การพยาบาล
1.ประเมินช่องเชิงกรานของผู้คลอด
ประเมินและติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแล bladder ให้ว่าง
จัดท่านอนศีรษะสูง กระตุ้นให้ลุกเดิน
ประเมินเสียงหัวใจทารกต่อเนื่อง
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
บรรเทาความเจ็บปวด
ให้คำแนะนำเรื่องการเบ่งคลอดอย่างถูกวิธี
2.ปากมดลูกเปิดหมดแต่ไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด ให้รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาช่วยคลอดโดยสุติศาสตร์หัตถการ หรือ เตียมผ่าตัด
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
จัดทำโดย
สมาชิก
นางสาวกชวรรณ กูนะ เลขที่1
นางสาวกัญญาพัชร คงนาคพะเนา เลขที่ 4
นางสาวกัญญาวีร์ ตันตา เลขที่ 6
นางสาวเกวลิน บงจรรย์ เลขที่ 9
นางสาวขวัญจิรา รอดวินิจ เลขที่11
นางสาวจริยา ไชยสิงห์ เลขที่ 12
นางสาวจีระประภา ไชยะลา เลขที่ 14
นางสาวชลธิชา แก้วทองนาค เลขที่ 17
นางสาวณัฏฐณิชา รักพงษ์ เลขที่ 21
นางสาวธนภรณ์ ดังไธสง เลขที่ 31
นางสาวศิริพร พุฒิเมืองออน เลขที่ 61
นางสาวอาทิฐฏิยา วรรณกัน เลขที่ 73