Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dx.R/O brain abscess (โรคฝีในสมอง), กรณีศึกษา, Hypertension (ความดันสูง)…
-
กรณีศึกษา
-
การผ่าตัด/หัตถการพิศษ:
S/P vp shunt Ventriculoperitoneal (VP) เมื่อวันที่ 05/05/65 เป็นการใส่สายระบายCFSจากโพรงสมองลงสู่ช่องท้อง
LP (lumbar puncture) เมื่อวันที่ 31/07/65
Protein: 897.4 Sugar: 65
เป็นหัตถการทางการแพทย์ มีใช้ทั้งเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษา เพื่อให้ได้มาซึ่งน้ำไขสันหลัง นำไปตรวจทางชีวเคมี จุลชีววิทยา และเซลล์วิทยา
-
-
-
-
Hypertension (ความดันสูง) เป็นมา 3 ปี หมอสั่งให้หยุดยาเมื่อเดือนเมษายน 2565
Communicating hydrocephalus
(โรคน้ำคลั่งในโพรงสมอง)
หมายถึงการที่มีภาวะโพรงสมองคั่งน้ำโดยที่ไขสันหลังสามารถติดต่อกันระหว่างช่องโพรงสมอง (Ventricle system) กับช่องระหว่างกลีบสมองหรือร่องสมองและช่องทางรอบๆไขสัน หรือเกิดจากการอุดตันบริเวณตำแหน่งนอกโพรงสมอง
โดยสาเหตุที่พบบ่อย เกิดหลังจากการติดเชื้อ เช่น
เยื่อหุ้มสมองอักเสบเกิดผลจากการติดเชื้อหนอง หรือเนื้อเยื่อจากการอักเสบแกรนูเลชั่นไปอุดตันทางระบายออกของน้ำไขสันหลังนอกโพรงสมอง
เกิดหลังมีเลือดออกในสมองชั้นใต้เยื่ออแรชนอยด์ (Subarachnoid hemorrhage) หรือหลังการผ่าตัดสมองหรือหลังการเกิดอุบัติเหตุแล้วเกิดเลือดออกในสมอง โดยผลของเลือดไปอุดตันทางระบายออกทางน้ำไขสันหลังนอกโพรงสมองหรือรบกวนการดูดซึมออกของน้ำไขสันหลังไปยังระบบหลอดเลือดดำ
-
แอมโฟเทอริซิน บี ประเภท: ยาต้านเชื้อราภายในร่างกาย
ข้อบ่งใช้: รักษาการติดเชื้อรา การติดเชื้อAspergillus, Candida หรือ Cryptocooccus ในผู้ป่วยติดเชื้อHIV
การออกฤทธิ์: ยาจับกับErgosterol ที่เซลล์เมมเบรนของเชื้อรา ทำให้Pemeabilityของเยื่อหุ้มเซลล์เชื้อราเสียไป ทำให้สูญเสียโปแตสเซียมและสารสำคัญอื่นๆ ขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง ได้ทั้งการยับยั้งเชื้อรา(Fungistatic) และฆ่าเชื้อรา(Fungicidal)
ผลข้างเคียง: เป็นยาที่มีพิษมากที่สุด แต่ในรายที่ติดเชื้อรุนแรงจะใช้ยาได้ผล ซึ่งอาจเกิดขึ้นภายใน 2 ชั่วโมงหลังได้รับยา มีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง อาจมีหลอดเลือดดำอักเสบ อาการอื่นๆ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ตามัว หูอื้อ ความดันโลหิตต่ำโปรแตสเซียมในเลือดต่ำ กดการทำงานของไขกระดูก หรืออาจทำให้ผิวหนังแห้งและเปลี่ยนสีได้
เป็นการติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง เชื้อก่อโรคพบได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับภูมิคุ้มกันของผู้ป่วย ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Streptococci เช่น Streptococcus milleri เป็นNormal flora ในช่องปาก
นอกจากนี้อาจพบเชื้อ Staphylococcus, gram negative bacilli, anaerobe หรืออาจพบเชื้อมากกว่า
1 ชนิด ในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ พบเชื้อก่อโรคจากโรคฉวยโอกาส เช่น วัณโนค (Mycobacterium tuberculosis) เชื้อรา (Candida, Aspergillus, Cryptococcus)
-
-
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ซึมลง ไม่กินข้าว ไม่พูด ไม่ขยับแขนขา มีไข้ หอบเหนื่อย ไม่ไอ ไม่มีน้ำมูก ไม่ท้องเสีย
แต่มีอาการสำลัก
-
-
-
4.เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากเบื่ออาหาร (Anorexia) และกลืนลำบาก (Dysphagia)
-