Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่ชำระหนี้ให้ถูกต้อง - Coggle Diagram
หน้าที่ชำระหนี้ให้ถูกต้อง
ถ้ามองในมุมเจ้าหนี้คือ
เรียกร้องจากลูกหนี้ได้
มาตรา208 การชำระหนี้จะให้สำเร็จผลเป็นอย่างใดลูกหนี้จะต้องขอปฏิบัติการชำระหนี้ต่อเจ้าหนี้เป็นอย่างนั้นโดยตรง
ถ้ามองในมุมของลูกหนี้คือ
ลูกหนี้ต้องดำเนินการชำระหนี้ตามมาตรา208
มาตรา208 การชำระหนี้จะให้สำเร็จผลเป็นอย่างใดลูกหนี้จะต้องขอปฏิบัติการชำระหนี้ต่อเจ้าหนี้เป็นอย่างนั้นโดยตรง
ตัวอย่าง- นายบอยได้ทำสัญญากู้ยืมเงินกับนายต้นโดยกำหนดเป็นเวลา7วัน ดังนั้นภายใน7วันนายบอยต้องนำเงินมาชำระให้กับนายต้น
ตามมาตรา194 บัญญัติว่า
“ด้วยอำนาจแห่ง มูลหนี้ เจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิ
จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระ หนี้ได้
ตัวอย่าง- นางตามได้ทำสัญญาซื้อที่ดินกับนางถอยกำหนดเป็นวันที่12 ส.ค.65 ดังนั้นถึงวันที่กำหนดนางตามต้องทำการชำระหนี้ให้กับนางถอยถ้าถงวันชำระหนี้แล้วนางตามไม่มาชำระนางถอยมีสิทธิที่จะเรียกให้นางตามมาชำระได้
แบ่งออกเป็น 3 อย่าง
หนี้การกระทำ
หนี้ที่ลูกหนี้ต้องไปทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตัวอย่าง-สร้างบ้านตามสัญญา
หนี้งดเว้นกระทำการ
มาตรา213 วรรคแรก ถ้าลูกหนี้ละเลยเสียไม่ชำระหนี้ของตน เจ้าหนี้จะร้องขอต่อศาลให้สั่งบังคับชำระหนี้ก็ได้ เว้นแต่สภาพแห่งหนี้จะไม่เปิดช่องให้ทำเช่นนั้นได้
ตัวอย่าง-นายขามได้ทำการยืมเงินนายใบ นายขามเอ้ยปากพูดจะคืนในวันที่7 ส.ค. 65 แต่พอถึงวันที่กำหนดนายขามละเลยไม่ชำระนายใบมีสิทธิที่จะขอร้องต่อศาลให้บังคับได้
หนี้ส่งมอบทรัพย์สิน
มาตรา462 การส่งมอบนั้นจะทำอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้สุดแต่ว่าเป็นผลให้ทรัพย์สินนั้นไปอยู่ในเงื้อมมือของผู้ซื้อ
ตัวอย่าง-นายดอยได้มอบบ้านให้กับลูกชายโดยให้โฉนดที่ดินไว้
หนี้ที่ลูกหน้มีหน้าที่ส่งมอบทรัพย์แก่เจ้าหนี้
วัตถุแห่งหนี้กับวัตถุที่ประสงค์แห่งนิติกรรม
ทำสัญญาซื้อขายกับแมวกันสองตัว วัตถุประสงค์ของนิติกรรมคือการโอนกรรมสิทธิ์ในแมวจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อ
มีส่วนที่คล้ายเกี่ยวข้องกัน แต่มีความแตกต่างกันหลายอย่าง
อยู่ในมูลฐานก่อนก่อหนี้
มีหนี้ทุกชนิด
ผู้ทำนิติกรรมต้องผูกนิติสัมพันธ์เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้
มาตรา195 บัญญัติว่า เมื่อทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้นั้นได้ระบุไว้แต่เพียงเป็นประเภท และถ้าตามสภาพแห่งนิติกรรม หรือตามเจตนาของคู่กรณีไม่อาจจะกำหนดได้ว่าทรัพย์นั้นจะพึงเป็นชนิดอย่างไรไซร้ ท่านว่าลูกหนี้จะต้องส่งมอบทรัพย์ชนิดปานกลาง
Ex.แดงทำสัญญาซื้อม้ากับนายดำแต่ม้าตายก่อนจะมาถึงนายดำ
ทรัพย์ที่ส่งมอบเป็นทรัพย์สินทั่วไป
ทรัพย์สินที่ส่งมอบทั่วไปอาจเป็นได้ทั้งสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์
ฟ้าทำสัญญาซื้อโต๊ะ50ตัวให้แก่นายกำหนดส่งมอบ1สัปดาห์
กฎ หมายกำหนดไว้2กรณี
การทรัพย์นั้นเป็นวัตถุแห่งหนี้
กรณีทรัพย์จะต้องส่องมอบได้ระบุไว้เป็นเพียงประเภท
ทรัพย์ที่จะส่งมอบเป็นเงินตรา
มาตรา196 บัญญัติว่า ถ้าหนี้เงินได้แสดงไว้เป็นเงินต่างประเทศ ท่านว่าจะส่งใช้เป็นเงินไทยก็ได้ การเปลี่ยนเงินนี้ ให้คิดตามอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่และในเวลาที่ใช้เงิน
กรณีหนี้เงินได้แสดงไว้เป็นเงินต่างประเทศ
ลูกหนี้ซื้อสินค้าอย่างหนึ่งแสดงราคาเป็นเหรียญดอลลาร์ ลูกหนี้จะชำระเป็นดอลลาร์หรือไทยก็ได้
กรณีตราที่จะพึงส่งใช้เป็นอันยกเลิกไม่ใช้แล้ว
อาจมีการเปลี่ยนแปลงบางชนิดที่ยกเลิก
กรณีวัตถุแห่งหนี้ซึ่งเลือกชำระได้
เป็นมูลหนี้เกิดจากหนี้ต่างๆไม่ว่าจะเกิดสัญญา หรือเกิดจากการละเมิด
มีสิทธิในการเลือก
มาตรา201 บัญญัติว่า ถ้าบุคคลภายนอกจะพึงเป็นผู้เลือก ท่านให้กระทำด้วยแสดงเจตนาลูกหนี้และลูกหนี้จะต้องแจ้งความนั้นแก่เจ้าหนี้
Ex.น้ำได้ทำสัญญาซื้อม้ากับดำแต่ดำไม่เอาม้ามาให้น้ำ
วิธีการเลือก
แยกออกเป็น 2กรณี
กรณีฝ่ายลูกหนี้หรือเจ้าหนี้เป็นผู้มีสิทธิเลือก
มาตรา199 บัญญัติว่า การเลือกนั้นท่านให้ทำด้วยแสดงเจตนาแก่คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง วรรคสอง การชำระหนี้ได้เลือกทำเป็นอย่างใดแล้ว ท่านให้ถือว่าอย่างนั้นอย่างเดียว เป็นการชำระหนี้อันกำหนดให้กระทำแต่ต้นมา คำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้อง
Ex.นายกำได้แสดงพฤติกรรมไม่ดีกรรมนายสมโดยการเลี่ยงไม่ชำระหนี้
กรณีบุคคลภายนอกเป็นผู้มีสิทธิเลือก
เมื่อบุคคลภายนอกมีสิทธิที่จะเลือกแสดงเจตนากับลูกหนี้
ระยะเวลาในการเลือก
มาตรา200 แยกออกไปอีก2กรณี
กำหนดระยะเวลาให้เลือก
ฝ่ายที่มีสิทธิจะเลือกเสียเวลาท่กำหนดนั้น
กรณีมิได้กำหนดเวลาให้เลือก
ให้ฝ่ายโน้นใช้สิทธิเลือกภายในตามเวลา
ผลของการเลือก
การใช้สิทธินั้นเป็นการแสดงเจตนาที่มีผลในทางกฎหมาย
กรณีการชำระหนี้บางอย่างเป็นพ้นวิสัย
กรณีตกเป็นอันพ้นวิสัยจะทำได้มาแต่ต้น
เป็นการชำระหนี้บางอย่างพ้นมาแล้ว
กรณีการอันพึงต้องทำเพื่อชำระหนี้บางอย่างกลายมา
แบ่งเป็น2กรณี
กรณีที่การชำระหนี้บางอย่างเป็นพ้นวิสัยที่ฝ่ายที่ไม่ม่สิทธิจะไม่ต้องรับผิดชอบ
ตาตกลงซื้อกบจากพันที่มีอยู่10ตัว มีหลายสีโดยตกลงเอาตัวไหนก็ได้โดยต้องแจ้งพันก่อน1สัปดาห์
กรณีที่การชำระหนี้บางอย่างกลายเป็นพ้นวิสัยที่ฝ่ายไม่มีสิทธิที่จะเลือกต้องรับผิดชอบ
ได้สามารถบังคับทำได้ก็ต้องบังคับ
กำหนดเวลาชำระหนี้
กำหนดเวลาชำระหนี้เป็นสิ่งสำคัญในการชำระหนี้ของลูกหนี้เพราะลูกหนี้ไม่รู้สันกำหนดเวล่
มาตรา204 บัญญัติว่า ถ้าหนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว และภายหลังแต่นั้นเจ้าหนี้ได้ให้คำเตือนลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ยังไม่ชำระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดเพราะเขาเตือนแล้ว
Ex.นายแดงได้ทำสัญญาซื้อขายที่ดินกับดำกำหนดระยะเวลา1สัปดาห์แต่นายแดงไม่ได้มาชำระหนี้ตามกำหนดนายดำสามารถเตือนนายแดงได้
แยกออกเป็น2กรณี
กำหนดเวลาชำระหนี้ไว้แต่เป็นที่สงสัย
มาตรา203 บัญญัติว่า ถ้าเวลาอันจะพึงชำระหนี้นั้นมิได้กำหนดลงไว้หรือจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ย่อมจะเรียกให้ชำระหนี้ได้โดยพลันและฝ่ายลูกหนี้ก็ย่อมจะชำระหนี้ของตนได้โดยพลันดุจกัน
กำหนดชำระหนี้ไว้ไม่เป็นที่สงสัย
แบ่งออกเป็น2อย่าง
กำหนดเวลาชำระตามวันแห่งปฏิทิน
กำหนดเวลาชำระหนี้มิใช่ตามวันปฏิทิน
ผลของการผิดนัดของลูกหนี้
ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดแต่การผิดนัด
มาตรา215 บัญญัติว่าเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลไซร้เจ้าหนี้จะเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแต่การนั้นก็ได้
Ex.นายการได้ทำการซื้อม้ากับนายจันแต่ม้านั้นได้เกิดการป่วยนายจันต้องให้ค่าสินไหมทดแทนกับนายการ
เจ้าหนี้อาจไม่รับชำระหนี้
เวลาในการชำระหนี้นั้น การชำระหนี้ที่ลูกหนี้จะต้องชำระหนี้ให้ถูกต้อง
ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดระหว่างผิดนัดเพิ่มขึ้น
มาตรา217 บัญญัติว่า ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่เกิดแต่ความประมาทเลินเล่อในระหว่างเวลาที่ตนผิดนัด ทั้งจะต้องรับผิดชอบในการที่การชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ผิดนัดนั้นด้วย เว้นแต่ความเสียหายนั้นถึงแม้ว่าตนจะได้ชำระหนี้ทันเวลากำหนดก็คงจะต้องเกิดมีอยู่นั่นเอง
Ex.นายกำได้นำพัสดุไปส่งใหเกับลูกค้าแต่ได้ประสบอุบัติเหตุระหว่างทางที่จะไปส่งพัสดุให้กับลูกค้านายกำต้องรับผิดชอบให้กับลูกค้า