Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย - Coggle Diagram
หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
ความสำคัญและคุณค่า
เป็นวิชาที่สำคัญยิ่งเพราะเป็นวิชาทักษาะพื้นฐานของการเรียนรู้กลุ่มประสบการณ์อื่น ๆ
1.ช่วยพัฒนาความพร้อมในด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน เช่นการปรับตัว การทำงานเป็นกลุ่ม
2.ช่วยจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เช่นกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน การร้องเพลงบ้างเล่นเกมบ้าง
ช่วยทำให้ช่วงความสนใจของผู้เรียนยาวนานขึ้น
4.ช่วยทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น
ช่วยกระตุ้นให้ครูผู้สอนได้หาทางพัฒนาปรับปรุงการสอนของตน
ช่วยให้ครูได้เห็นพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้เรียนได้เด่นชัดขึ้น
การสอนทักษะภาษาไทย
เป็นการถ่ายทอดความรู้ความสามารถทางภาษาไทย ประกอบด้วย 4 ทักษะ คือ ฟัง ดู พูด อ่าน เขียน เป็นทักษะเบื้องต้นของการใช้ภาษาและรวมไปถึงความสามารถในการรับรู้
การสอนภาษาไทยในชั้นป.1-2
เน้นการสร้างประมวลคำอ่าน เขียน ฟัง และพูด เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนภาษาไทยจากหนังสือเรียนและประสบการณ์ โดยจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่นเพลง ปริศนาคำทาย เน้นการแจกลูกสะกดคำเพื่อเป็นกุญแจไปส๔่การอ่านคำใหม่
แผนภูมิการสอนภาษาไทยในชั้นป.1-2
การสอนโดยสร้างประสบการณ์ทางภาษา
อ่านในใจ
อ่านสะกดคำแจกลูกจากแบบฝึกหัดในหนังสือเรียน
อ่านออกเสียงจากหนังสือเรียน
การฝึกทักษะฝึกอ่าน เขียน คัด การใช้ภาษา
กิจกรรมเสริมทักษะทางภาษาและการอ่านรายบุคคล
การสอนซ่อมเสริม
การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยเน้นกระบวนการ
การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยสรุปขั้นตอนเป็นกระบวนการได้ดังนี้
1 คิดวิเคราะห์วิจารณ์
2 กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติให้ผู้เรียนวางแผนกำหนดวิธีการนำเสนอ
3 ปฏิบัติด้วยความชื่นชม
4 ประเมินระหว่างปฎิบัติ
5 ปรับปรุงให้ดีขึ้นอยู่เสมอ
6ประเมินผลรวมเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ
การสอนภาษาไทยชั้นป.3-4
ในระดับชั้นนี้ผู้เรียนจะมีการประมวลคำอ่านและเขียนมากขึ้น เน้นเรื่องการอ่านเพื่อความเข้าใจสามารถอ่านจับใจความสำคัญได้ รายละเอียดของเนื้อเรื่องสรุปความ เปรียบเทียบหาเหตุผล
การสอนจะมี 7 ขั้นตอน ดังนี้
1 อ่านในใจ
2 การอ่านออกเสียง
3 การใช้ภาษาและหลักภาษา
4 การเขียนเชิงสร้างสรรค์
5 พัฒนาทักษะทางภาษา
การอ่านบทร้อยกรองและอ่านเสริมบทเรียน
7 การสอนซ่อมเสริม
การสอนภาษาไทยชั้นป.5-6
เวลาเรียนภาษาไทยตามหลักสูตรน้อยลงแต่เนื้อหามีมากขึ้น นักเรียนจะต้องมีการฝึกการเขียนเพื่อการติดต่อสื่อสารมากขึ้นฝึกการเขียนในรูปแบบต่าง ๆ ที่กำหนดในบทเรียนชุดพื้นฐานภาษา
แผนภูมิขั้นตอนการสอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5- 6
1 การสอนอ่านในใจ
2 การศึกษาความรู้ทางภาษา
3 การเขียนตามรูปแบบ
4 การอ่านออกเสียง
5 กิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษา
6 การอ่านบทร้อยกรองและบทอ่านเสริมบทเรียน
7 การสอนซ่อมเสริม
การสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา
มีหลักการและทฤษฎีสำคัญดังนี้
แนวทฤษฎีการสอนแบบสื่อสาร เน้นการใช้ภาษาของผู้เรียนและให้ความสำคัญต่อบริบทของภาษาเป็นหลัก
แนวทฤษฎีการสอนแบบธรรมชาติ เน้นปัจจัยป้อนที่ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนที่ใช้เป็นสื่อการเรียนจึงเป็นการเล่าเรื่องตามจินตนาการ
3 ทฤษฎีการสอนอ่าน เน้นการสร้างความหมายจากสัญลักษณ์โดยผ่านกระบวนการคิด
กระบวนการเรียนการสอน
ขั้นตอนการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา
มี 5 ขั้นตอนดังนี้
1 ครูอ่านเรื่องให้ผู้เรียนฟัง
2 ให้ผู้เรียนเล่าเรื่องกลับ
3 ครูและผู้เรียนเขียนเรื่องรวมกัน
4 ทำหนังสือเล่มใหญ่
5 กิจกรรมฝึกทักษะทางภาษา
การจัดกิจกรรมในเนื้อหาสาระ
มารยาทในการฟัง
ชั้น ป.1-2 เน้นให้เห็นประโยชน์และความจำเป็นในการฝึกในการมีมารยาทในการฟังและฝึกการฟังอย่างตั้งใจ
ชั้น ป.3 -4 เน้นการฝึกมารยาทการฟังในโอกาสต่าง ๆ
ชั้น ป. 5-6 ฝึกซ้ำในชั้นเรียนป. 1 -4 และฝึกจนสามารถแสดงออกเป็นนิสัยนิสัย
มารยาทในการพูด
ชั้น ป.1-2 เน้นการพูดด้วยถ้อยคำสุภาพการใช้คำพูดให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลและส่งเสริมการพูดความจริง
ชั้น ป.3 -4 มีการเพิ่มการฝึกบุคลิกภาพในการพูดคือท่าทางประกอบการพูดการใช้น้ำเสียงและถ้อยคำในลักษณะต่าง ๆ การขึ้นต้นกับลงท้าย
ชั้น ป. 5-6 เน้นข้อปฏิบัติการพูดในโอกาสต่างๆการส่งเสริมบุคลิกภาพการพูดทั้งทางร่างกายและจิตใจ
การอภิปราย
ชั้น ป.1-2 ฝึกอภิปรายทั้งชั้นและกลุ่มย่อย
ชั้น ป.3-4 ฝึกอภิปรายทั้งชั้น อภิปรายกลุ่มย่อยและเป็นคณะ
ชั้น ป.5-6 ฝึกอภิปรายกลุ่มย่อยและเป็นคณะ
แนวคิดในการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักเกณฑ์ทางภาษา
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักเกณฑ์ทางภาษาสามารถทำได้ 2 อย่างคือ จัดในลักษณะที่เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนโดยตรงและจัดในลักษณะแบบฝึกเสริมทักษะให้ผู้เรียนลงมือทำด้วยตัวเอง
ตัวอย่างขั้นตอนการคิด
1 กำหนดหัวข้อเรื่องที่จะสร้างแบบฝึกหัดเสริมความรู้เรื่องหลักเกณฑ์ทางภาษา
2 กำหนดจุดประสงค์
3 กำหนดแนวทางในการสร้างแบบฝึกเป็นขั้นตอนตามหลักสูตรการเรียนรู้
หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
จุดประสงค์สำคัญในการเรียนการสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษาคือเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการฟังพูดอ่านและเขียนสามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้วิทยาการต่างๆและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีหลักการจัดดังต่อไปนี้
1 คำนึงถึงการเตรียมความพร้อมเป็นสำคัญ
2 จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการสอนตามหลักสูตร
3 ควรจัดกิจกรรมในรูปของทักษะสัมพันธ์
4 จัดกิจกรรมอย่างมีลำดับขั้นตอน
5 ปลูกฝังให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
6 จัดกิจกรรมให้สอดคล้องและเหมาะสมกับวัยความสามารถความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
7 ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
8 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่น
9 จัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนรู้จักใช้ความคิด
10 จัดกิจกรรมโดยใช้วิธีการสอนหลาย ๆ รูปแบบ
11 ควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเป็นคนช่างสังเกต
12 การสอนให้ถูกต้องตามหลักการสอนภาษา
13 การจัดกิจกรรมควรคำนึงถึงสื่อการเรียนการสอนที่จะนำมาใช้
14 เสียงการจะกิจกรรมไม่ควรใช้เวลานานเกินไป
16 ควรปลูกฝังเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาไทย
17 ให้ผู้เรียนประเมินผลความก้าวหน้าของตนเอง
18 ให้ผู้เรียนรู้จักแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง
15 ควรสอนสอดแทรกคุณธรรมต่างๆให้กับผู้เรียนได้ซึมซาบโดยไม่รู้ตัว
19 ดำเนินการสอนซ่อมเสริมให้
20 จัดหาหนังสือที่เหมาะสมมาให้ผู้เรียนอ่านเสริมหรืออ่านประกอบบทเรียนในห้องเรียนหรือการอ่านหนังสือในห้องสมุด
หลักการเลือกรูปแบบกิจกรรม
ควรพิจารณาในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1 ศึกษาจุดประสงค์ของบทเรียน
2 ศึกษาเนื้อหาที่จะสอน
3 ศึกษาลักษณะของผู้เรียน
4 พิจารณาความสามารถและความถนัดของครูผู้สอน