Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ใบงานที่ 4 การประเมิน วินิจฉัย และรักษาโรคทางจิตเวช - Coggle Diagram
ใบงานที่ 4
การประเมิน วินิจฉัย และรักษาโรคทางจิตเวช
การประเมินภาวะสุขภาพจิต
โรคประสาท (Neurosis)
ส่วนมากมักเกิดจากความวิตกกังวล
รู้ตนเองว่ามีความผิดปกติ
มักมีอาการทางกายร่วมด้วย เช่น ใจสั่น เหงื่อออก
โรคจิต (Psychosis)
หลุดโลก (Out of reality)
หูแว่ว
ภาพหลอน
หลงผิด
การจำแนกโรคทางจิตเวช
DSM-V
ความผิดปกติทางพัฒนาการด้านระบบประสาท
โรคอารมณ์สองขั่วและความผิดปกติที่เกี่ยวข้อง
โรควิตกกังวล
ความผิดปกติเกี่ยวกับการบาดเจ็บและความเครียด
ความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
การนอนละเมอ
ไม่พอใจในเพศสภาพของตนเอง
คุมอารมณ์ไม่ได้
ติดยา
ความผิดปกติของการเคลื่อนไหวที่เกิดจากการใช้ยาและผลข้างเคียงอื่นๆ
การจำแนกโรคทางจิตเวช
ICD-10
ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมที่เกิดจากสารที่ออกฤทธิ์ทางจิต เช่น การใช้สารเสพติด
โรคจิตประเภท ประสาทหลอน
ความผิดปกติของระบบประสาท ความเครียด
อาการทางพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสรีรวิทยา การรบกวนและปัจจัยทางกายภาพ
ความผิดปกติของบุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้ใหญ่
พัฒนาการผิดปกติ
ความผิดปกติทางพฤติกรรมและอารมณ์ที่มักเกิดขึ้นในวัยเด็กและวัยรุ่น
ความผิดปกติทางจิตที่ไม่ระบุรายละเอียด
อาการทางจิต (Psychiatric symptoms)
Functional cause
โรคจิตเภท
ความผิดปกติของอารมณ์
ความผิดปกติของการกิน
ความผิดปกติของการนอน
ความผิดปกติทางเพศ
Organic cause
ไข้สูง
สมองเสื่อม
"ความผิดปกติของทั้งสองรูปแบบมีความผิดปกติเกิดจากสาร Substance-related disorder ทำให้บุคลิกภาพผิดปกติและไม่สมประกอบทาสมองหรือทางความคิด"
Schizophrenia
ประสาทหลอน
นิ่งเกินปกติ
หวาดระแวง
มีโอกาสฆ่าตัวตาย
Delusional Disorder
การหลงผิดทางจิตใจ
หลงผิดในเรื่องความรัก ความยิ่งใหญ่ และการหวาดระแวงมีคนจะมาฆ่า
Mood disorders
ซึมเศร้า
ซึมเศร้าเรื่อยๆ
ซึมเศร้าตามฤดูการ
ซึมเศร้ามากว่าปกติ
อารมณ์สองขั่ว
อาการที่เกิดขึ้นอย่างรวจเร็ว
เป็นวันเว้นวัน
Anxiety Disorders
ตกใจกลัวอย่างมาก
การกลัวเฉพาะอย่าง
การย้ำคิด ย้ำทำ
อาการหลังเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง
กังวลลอยๆ
การปรับตัวไม่ได้
Somatoform disorders
มักคิดว่าตนเองไม่สบาย เป็นโรคต่างๆ
Dissociative Disorders
ลืมว่าตนเองเป็นใคร
ลืมเหตุการณืบางช่วงบางตอน
จำไม่ได้ว่าตนเองทำอะไรลงไป
Neurocognitive disorders
คล้ายโรคจิต
สมองเสื่อม
นอนละเมอ
อาการบาดเจ็บทางสมอง
ติดสารเสพติด
เป็นโรคทางเพศสัมพันธ์
Disruptive, Impulse-Control, and Conduct Disorders
คุมอารมณ์ตนเองไม่ได้
อยากทำร้าย ทำลายสิ่งต่างๆที่เห็น
เห็นสิ่งของแล้วอยากขโมย
ทำร้ายร่างกายตนเอง ควบคุมไม่ได้
Personality Disorders
หวาดระแวง
แยกตัว
ความเชื่อแปลกๆ
ชอบตนเอง ชอบยั่วยวน
หลงตัวเอง
อารมณ์ไม่มั่นคง
ต่อต้านสังคม
หลีกเลี่ยง
พึ่งพา
ย้ำคิดย้ำทำ
สารที่เกี่ยวข้อง/สารเสพติดต่างๆ
Alcohol แอลกอฮอล์
Cafeine กาแฟ
Phencyclidine ยาหลอนประสาท
Sedative, Hypnotic, Anxiolytic ยากล่อมประสาท
Psychotic หลอน
Eating Disorders
ชอบคิดว่าตนเองอ้วน
กินมากผิดปกติ
Sleep Disorders
การนอนไม่หลับ
หลับแบบกระทันหัน ไม่รู้ตัว
นอนแล้วเกิดหยุดหายใจ
การละเมอ
ฝันร้าย
ขาอยู่ไม่สุขเวลานอน
Sexual Disorders / Dysfunction
หลั่งช้าผิดปกติ
หลังเร็วผิดปกติ
ผู้ชายอวัยวะเพศไม่แข็งตัว
ไม่มีอารมณ์ทางเพศ
มีเพศสัมพันแล้วรู้สึกเจ็บ
โรคต่างๆของร่างกาย
Sexual Deviation/ Paraphillic Disorders
ชอบโชว์
ไสยศาสตร์
ชอบใช้ความรุนแรง
ชอบถูกกระทำแบบรุนแรง
แต่งกายชุดเพศตรงข้าม
ชอบแอบดู
มีเพศสัมพันธ์กับสัตว์
Child Psychiatric Disorders
ความพิการทางสมอง
เด็กออทิสติก
การขาดทักษะอารมณ์ในการเข้าสังคม และการสื่อสาร
รูปแบบพฤติกรรมซ้ำซาก
Conduct Disorders
ก้าวร้าว
ทำลายทรัพย์สิน
ลักขโมย
การละเมิดกฎที่ร้ายแรง
Attention-deficit/ Hyperactivity Disorder
ไม่ใส่ใจ
สมาธิสั้น
บทสมภาษณทางจตเวช
การระบุข้อมูลส่วนบุคคล
ประวัติข้อมูลทั่วไปต่างๆ
ประวัติการเจ็บป่วย
ความคิดทัศนคติ ความรู้สึกต่างๆ
การตรวจสอบสถานะทางจิต
การแต่งกาย
การเคลื่อนไหวร่างกาย
อารมณ์
ความคิด
สมาธิ
การตอบสนองต่างๆ
การรักษาความผิดปกติทางจิตเวช
การใช้ยา เช่น ยารักษาโรคจิต,ยากล่อมประสาท,ยาต้านความวิตกกังวล
การสะกดจิต
ยารักษาโรคจิตผิดปกติ
ยารักษาโรคจิตที่ออกฤทธิ์นาน
การบำบัดด้วยไฟฟ้ากระตุก
การศัลยกรรมประสาท
การรักษาทางจิตวิทยา
บำบัดด้วยการสมรส
ใช้พฤติกรรมในการบำบัด
การบำบัดทางความคิด
การรักษาทางสังคม
การรักษาด้วยสิ่งแวดล้อมที่รองรับและเอื้อต่อการรักษา
การบำบัดด้วยครอบครัวเป็นผู็ช่วยเยียวยาจิตใจ