Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดของนายจ้างในผลเเห่งการละเมิดของลูกจ้างในการที่จ้าง,…
-
การละเมิดนั้นจะก่อขึ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อเเละการละเมิดนั้นจะก่อขึ้นเเก่ผู้ใดหากมิใช่เป็นการกระทำในทางการที่จ้างเเล้วก็ไม่ต้องร่วมรับผิด เเละนายจ้างจะต้องรับผิดร่วมด้วยต่อเมื่อมีบทบัญญัติไว้โดยชัดเเจ้งพิเศษ ตามมาตรา 430
ลูกจ้างทำหน้าที่คนท้ายรถยนต์ซึ่งนายจ้างยินยอมให้ขับรถด้วยนั้น ถ้าขับรถทำให้ผู้อื่นเสียหายโดยละเมิด นายจ้างต้องรับผิด( ฎ. 506/2498 )
วีธีการปฏิบัติ
การที่จะปฏิบัติงานให้ลุล่วงไปดพื่อประโยชน์ของนายจ้างหลายวิธีอันเเตกต่างกัน ในการสั่งให้กระทำนั้น นายจ้างไม่ได้เเจกเเจงวิธีการการทำให้ละเอียดเพื่อให้ลูกจ้างปฏิบัติตาม ลูกจ้างอาจใช้วิธีตามที่เห็นสมควรเพื่อให้กิจการนั้นลุล่วงไป
กรณีนายจ้างมีคำสั่งห้าม
การที่นายจ้างมีคำสั่งห้ามการกระทำอันเป็นการละเมิดไว้โดยชัดเเจ้งย่อแมไม่เป็นข้อต่อสู้ของนายจ้าง ถ้าหากการกระทำนั้นเป็นเเต่เพียงวีธีการปฏิบัติสิ่งที่ลูกจ้างได้รับจ้างให้กระทำ
การละเมิดโดยจงใจ
ตามมาตรา 420 เป็นหลักทั่วไปว่าด้วยการละเมิด เป็นที่เห็นได้ว่าการกระทำโดยประมาทเลินเล่อนั้น เเตกต่างกับการกระทำละเมิดโดยจงใจ เพราะการกระทำโดยประมาทเลินเล่อมีระดับจิตใจอ่อนกว่าการกระทำโดยจงใจ
-
มาตรา 426 นายจ้างซึ่งได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจ้างได้ทำนั้น ชอบที่จะได้ชดใช้จากลูกจ้างนั้น
การละเมิดนั้นเป็นการกระทำของลูกจ้างต่อบุคคลภายนอกนายจ้างต้องรับผิดร่วมด้วยกับลูกจ้างก็เป็นความรับผิดต่อผู้เสียหาย
-
นายจ้างลูกจ้างยังคงต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในฐานะลูกหนี้ร่วมกันจนกว่าหนี้นั้นได้ชำระสิ้นเชิง มาตรา 291
-
-
-
มาตรา 430 ครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอื่นซึ่งรับดูแลบุคคลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ก็ดี ชั่วคราวก็ดี จำต้องรับผิด ร่วมกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด ซึ่งเขาได้กระทำลงในระหว่างที่อยู่ในความดูแลของตน ถ้าหากพิสูจน์ได้ว่าบุคคลนั้นๆ มิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร
มาตรานี้กำหนดความรับผิดของผู้มีหน้าที่ดูเเลผู้ไร้ความสามารถในผลเเห่งการละเมิดที่ผู้ไร้ความสามารถได้ทำขึ้นเช่นเดียวกับมาตรา 429 ความรับผิดอยู่ที่กหารบลกพร่องในหน้าที่ดูเเลผู้ไร้ความสามารถ มาตรา 429 ย่อมนำมาใช้ได้โดยอนุโลม เเต่ต่างกันที่ตัวผู้มีหน้าที่ดูเเล เพราะบุคคลที่เข้ารับหน้าที่ดูเเลตามมาตรานี้ได้เกิดโดยข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 356/2511 เช้าวันเกิดเหตุ ครูได้เก็บเอาไม้กระบอกพลุที่เด็กนักเรียนเล่นมาทำลายและห้ามไม่ให้เล่นต่อไปตอนหยุดพักกลางวันนักเรียนคนหนึ่งได้เล่นกระบอกพลุที่นอกห้องเรียนไปโดนนัยน์ตานักเรียนอีกคนหนึ่งบอดพฤติการณ์เช่นนี้ครูได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแล้วเหตุที่เกิดละเมิดเป็นการนอกเหนืออำนาจและวิสัยที่ครูจะดูแลให้ปลอดภัยได้ครูจึงไม่ต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1488/2515 จำเลยที่ 3 ครูใหญ่ ได้ให้ อ. ครูรองคอยควบคุมดูแลนักเรียนซึ่งรวมทั้งโจทก์และจำเลยที่ 1 ด้วย เมื่อจำเลยที่ 1 ได้เล่นบันไดโหนอย่างผาดโผน อ.เห็นก็ห้ามปรามจำเลยที่ 1 พอขาดคำบันไดก็ล้มทับโจทก์ พฤติการณ์ดังกล่าวแสดงว่าจำเลยที่ 3 ได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแล้ว จึงไม่ต้องรับผิดในผลแห่งละเมิดที่จำเลยที่ 1 ก่อให้เกิดขึ้น (เรื่องนี้ฟ้องครูใหญ่ ไม่ได้ฟ้องครูรอง)
ลูกจ้าง นายจ้างหมายถึง บุคคล2 ฝ่ายมีความสัมพันธ์กันตามลลักษณะเอกเทศสัญญาจ้างเเรงงานตามที่บัญญัติไว้ใน ปพพ.575-586
ตามมาตรา 575 เเสดงว่าสัญญาจ้างเเรงงานจะถึงมีสินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานถ้าตามพฤติการ์ณไม่อาจคาดหมายได้ว่างานนั้นจะพึงทำให้เปล่าย่อมถือเอาโดยปริยายว่ามีคำมั่นสินจ้าง (มาตรา576)
-
-
ฎ.1425/2539 การที่ลูกจ้างมิได้ขับรถยนต์ทับขาผู้เสียหายโดยประมาทเลินเล่อ การกระทำของลูกจ้างจึงไม่เป็นละเมิด นายจ้างจึงไม่ต้องรับผิดด้วย
ฎ.2499/2524การที่นายจ้างมอบอาวุธปทนให้ลูกจ้า่งไปใช้ในการอยู่ยามเพื่อรักษาทรัพย์สินของนายจ้างเเละลูกจ้างใช้ปืนนั้นลอบไปยิงผู้เสียหายในขณะที่ลูกจ้างปฏิบัติหน้าที่ยามเพื่อรักษาทรัพย์สินของนายจ้างซึ่งอยู่ในเหมือง ถือว่าเป็นการกระทำในทางการที่จ้าง
ฎ.648/2522 ลูกจ้างทำละเมิด นายจ้างถูกฟ้อง ได้ใช้ค่าเสียหายไปตามคำพิพากษาเเล้วไล่เบี้ยเอาลูกจ้างได้ เเต่ค่าฤชาธรรมเนียมที่นายจ้างต้องใช้เเก่ผู้เสียหายตามคำพิพากษานั้น ไม่ใช่ค่าเสียหาายอันเป็นผลโดยตรงจากการละเมิดของลูกจ้าง นายจ้างไล่เบี้ยไม่ได้
ฎ.152/2506 เพียงเเต่เจ้าของเรือยนต์นั่งไปกับเรือเเละอนุญาติให้ ล ขับเรือ ไม่ทำให้เจ้าของเรือต้องรับผิดในผลเเห่งละเมิดที่ ล ขับเรือชนผู้อื่น
ฎ.1955/2542 ข้อเท็จจริงเป็นเริื่องที่ผู้ทำละเเมิดได้ขับรถยนต์คันเกิดเหตุโดยได้รับความยินยอมจากเจ้าหน้าที่วิทยาลัยการปกครอง ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า วิทยาลัยต้องรับผิดในผลเเห่้งละเมิดตามมาตรา 427 เพราะเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยเป็นตัวเเทนของวิทยาลัย
จำเลยซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างเป็นผู้กำหนดวิธีการให้ผู้รับจ้างตัดต้นไม้และให้คนควบ คุมดูแลการตัดต้นไม้ตลอดเวลา แต่ในวันที่มีการตัดต้นไม้และทำให้ไม้ล้มพาดสายไฟฟ้าแรงสูงในที่ดินของโจทก์ ขาดก่อให้เกิดความเสียหายกลับไม่มีผู้ใดควบคุม
การที่ผู้รับจ้างไม่มีความรู้ความชำนาญในการตัดต้นไม้ที่จะก่อให้เกิดความ เสียหายแก่สิ่งก่อสร้างข้างเคียงหรือไม่ยอมทำตามวิธีการที่ถูกต้อง ถือได้ว่าจำเลยเป็นผู้ผิดในส่วนการงานที่สั่งให้ทำ หรือในคำสั่งที่ให้ไว้ หรือในการเลือกหาผู้รับจ้าง จำเลยจึงต้องรับผิดต่อโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 428 (ฎ. 390/2550)
ฎ.457/2514 ไม่ปรากฎว่าผํู้จ้างเป็นผู้สั่งให้ผู้รับจ้างตอกเสาเข็มด้วยเครื่องจักรอันก่อให้เกิดความเสียหายเเก่โจทก์ การตอกเสาเข็มจึงเป็นการกรัะทำของผํู้รับจ้างเอง ผํู้ว่าจ้างไม่ต้องรับผิด
ความรับผิดของผู้ว่าจ้างทำของตามมาตรา 428 นี้ เป็นความผิดในฐานะผู้ว่าจ้างเป็นผู้ทำละเมิดไม่ใช่ความรับผิดชอบในการกระทำของบุคคลอื่น
-
-ผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตจะมีความรับผิดฐานละเมิดได้ก็ย่อมเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา 420 จะต้องมีการกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อที่จะถือว่าเป็นการกระทำจะต้องมีความเคลื่อนไหวในอริยาบทโดยรู้สำนึกในความเคลื่อนไหวนั้น เเลัที่จะถือว่าเป็นการจงใจ
โจทก์เป็นบิดาของ ป. โจทก์ยอมให้ ป. ซึ่งยังเป็นผู้เยาว์อายุ 16 ปี และยังไม่มีใบอนุญาตขับรถ ขับรถยนต์ซึ่งเป็นยานพาหนะออกไปตามถนนสาธารณะ เป็นการเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ถือว่าโจทก์มิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลบุตรผู้เยาว์ โจทก์จึงต้องร่วมกับ ป. รับผิดในผลที่ ป. ทำละเมิดต่อจำเลยด้ว