Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GDMA1 with Spontaneous vertex delivery with PPH - Coggle Diagram
GDMA1 with Spontaneous vertex delivery with PPH
ข้อมูลผู้ป่วย
หญิงต้ังครรภ์ อายุ 40 ปี สถานภาพสมรส คู่ เชื้อชาติ ไทย อาชีพรับจ้างทั่วไปเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล วันที่ 6 กันยายน 2564 เวลา 05.40 น. ด้วยอาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนมาโรงพยาบาล 3 ชั่วโมง
ระยะก่อนคลอด
เวลา 05.40 น. มีอาการเจ็บครรภ์คลอด Cx. Dilate 8 cm. Eff. 100 % Station 0 MI I 2’ D 40”
ขนาดหน้าท้อง 3⁄4>ระดับสะดือ ทารกท่า ROA FHS 140 BPM EFW 3,500 ก รั ม
DTX stat 98 mg% On 5%D/N/2 1000 ml + Syntocinon10 unit iv drip 80 ml/hr On O2 mask with bag 10 LPM
ระยะคลอด
แรกเกิดร้อง เสียงเบา มีปลายมือปลายเท้าเขียวเล็กน้อย Apgar Score ที่ 1 นาที, 5 นาที, 10 นาที= 8,9,9
เวลา 13.50 น. ทารกศีรษะคลอด มีลักษณะTurtle sign คลอดไหล่ยาก ทา Rt episiotomy การช่วยคลอดไหล่
จัดท่า Mc Robert maneuver ทารกคลอดเวลา 13.54 น. เพศหญิง BW 3,650 กรัม ความยาว 52 เซนติเมตร ติดไหล่ 1นาที
ตรวจร่างกายแขนขวายกขยับไม่ได้ให้ Vit K 1mgim ส่งทารกไปดูแลที่ตึกกุมารเวช กรรม เวลา 14.12 น.
ระยะหลังคลอด
มารดาเสียเลือด 800 ซีซี Hct stat 30%
ใส่สายสวน ปัสสาวะ ปัสสาวะออก 200 ml
On Acetar 1000 ml + Syntocinon 20 unit iv loading, Methergin 1 amp iv ทุก 15 นาที 2 ครั้งความดัน โลหิต 118/78 มิลลิเมตรปรอทชีพจร 100 ครั้ง/นาที
ตรวจการฉีกขาดของแผลใน โพรงมดลูก และช่องทางคลอดไมม่ ีเลือดซึมผดิ ปกติ เลือดไหลทางชอ่ งคลอดปกติให้ PRC 1 ยูนิตสังเกตอาการต่อจนครบ 2 ชั่วโมงหลังคลอด รู้สึกตัวดี V/S ปกติ
Focus Charting
Risk for fall
I : -ให้พักผ่อนบนเตียง และไม่ให้ลงจากเตียงตามลำพัง
ให้ใช้กริ่งเมื่อต้องการความช่วยเหลือ
ยกไม้กั้นเตียงขึ้นภายหลังให้การพยาบาล
ช่วยเหลือในการทำกิจกรรมต่างๆ
ดูแลติดป้าย Fall ที่หัวเตียงและหน้ารายงานของผู้ป่วย
E - หญิงหลังคลอด รับบทราบ
A : หญิงหลังคลอด คลอดไหล่ยาก เสียเลือด 800 ml ภายใน 48
ชม. เป็น Obvious High risk
Risk for PPH
A หญิงหลังคลอด คลอดไหล่ยาก มีการฉีกขาดของแผลในโพรง
มดลูก เสียเลือด 800 ml Hct = 30% ลดลง จากเดิม = 33% มีปัสสาวะออก 200 ml.
I - ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก จำนวนลักษณะของ bleeding per vagina ทุก 4 ชม.ในระยะ 24 ชม.แรกหลังคลอด
บอกหญิงหลังคลอด ให้แจ้งพยาบาลทันที ถ้ามีเลือดออกเต็มผ้าอนามัยมากกว่า 1 ผืน/ชั่วโมง
Record Vital signs ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้งจากนั้นทุก 1 ชม. 8 ครั้ง และถ้าไม่มีอาการผิดปกติจากนั้นทุก 4 ชม.จนครบ 48 ชม.
E - มดลูกหดรัดตัวกลมแข็ง อยู่ในระดับสะดือ มี bleeding per vagina ชุม pad ½ ผืนแผลหน้าท้องไม่มี bleeding ซึม
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Oxytocin
A : หญิงตั้งครรภ์ On 5%D/N/2 1000 ml + Syntocinon 10 unit iv drip 80 ml/hr
I : - อธิบายแผนการดูแลรักษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลของยาที่มีต่อความก้าวหน้าของการคลอด
-ประเมินUterine contraction, FHRทุก 15-30 นาทีกระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะทุก 2 ชั่วโมง
-แนะนำผู้คลอดหากรู้สึกเจ็บครรภ์มากทนไม่ไหวแจ้งพยาบาลทันที
E : ผู้คลอดรับทราบข้อมูล และให้ความร่วมมือ
สาเหตุ
สาเหตุของภาวะตกเลือดหลังคลอดเกิดจากมดลูกไม่หดรัดตัว
การฉีกขาดของช่องทางคลอด ภาวะรกค้าง
หรือภาวะผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดในมาดา
มดลูกไม่หดรัดตัวเป็นสาเหตุที่พบมากที่สุด ถึงร้อยละ 80 ของ
ภาวะตกเลือดหลังคลอดใน 24 ชั่วโมงแรก
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด คือ grand multiparity
ทารกตัวโต ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ (polyhydramnios) การกระตุ้นคลอดหรือ
เร่งคลอดด้วย oxytocin การคลอดยาวนานหรือเร็วเกินไปการล้วงรก ได้รับยา
ดมสลบหรือแมกนีเซียมซัลเฟต เคยตกเลือดหลังคลอดมาก่อน รกเกาะต่ำ รก
ลอกตัวก่อนกำหนด อ้วน อายุมากกว่า 35 ปี' อย่างไรก็ตาม ภาวะตกเลือด
หลังคลอดอาจเกิดขึ้นในสตรีที่ไม่มีประวัติหรือปัจจัยเสี่ยง