Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัตถุแห่งหนี้ (สิทธิของเจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้กระทำการอย่างใดหนึ่งชำระหนี…
วัตถุแห่งหนี้
(สิทธิของเจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้กระทำการอย่างใดหนึ่งชำระหนี้)มาตรา 208
หนี้กระทำการ :check:
หนี้ที่ลูกหนี้ต้องกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างแก่เจ้าหนี้
หนี้กระทำการอาจมีมีทั้งลูกหนี้ต้องกระทำด้วยตนเองและหนี้ที่ลูกหนี้อาจไม่ต้องกระทำด้วยตนเอง
หนี้ที่่มุ่งเน้นความสามารถเฉพาะตัวของลูกหนี้
ลูกหนี้ต้องกระทำการตามสภาพสัญญา หรือข้อตกลงของคู่กรณีก็ตาม ที่มีสาระสำคัญที่ลูกหนี้จัดต้องทำการด้วยตนเอง
หนี้กระทำการที่การชำระหนี้เรื่องที่ลูกหนี้ต้องการเฉพาะตัวนั้นถือว่าเป็นหนี้ส่วนตัวและไม่ตกเป็นมรดกแก่ทายาทลูกหนี้ แต่สิทธิเจ้าหนี้นั้นอาจตกไปยังทายทได้เว้นแต่จะตกลงเป็นอย่างอื่น
ตัวอย่าง สัญญาจ้างวาดภาพ จ้างไปบรรยาย จ้างตัดเสื้อ
หนี้ที่ลูกหนี้อาจไม่ต้องกระทำด้วยตนเอง
ความสามารถเฉพาะตัวของลูกหนี้ไม่ใช่สาระสำคัญ อาจเพียงแต่ลูกหนี้รับผิดชอบในการจัดการกระทำการอันนั้นโดยที่ลูกหนี้ไม่ต้องกระทำการด้วยตนเอง
ตัวอย่าง รับสร้างบ้าน จ้างตัดหญ้า ขุดดิน
หนี้งดเว้นกระทำการ :red_cross:
หน้ีงดเว้นกระทำการเป็นหน้ีซ่ึงลูกหน้ีมีความผูกพันธ์ว่าจะไม่กระทำการบางอย่าง
้ผู้ขายกิจการค้าอาจให้สัญญาแก่ผูเซ้้ือว่าจะไม่ประกอบกิจการค้าน้ันในท้องถิ่นเดียวกันภายในระยะเวลาหนึ่ง
ชำระหนี้โดยการส่งมอบทรัพย์ :pencil2:
ประเภทตัวทรัพย์
ทรัพย์สิน
การโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สิน และการส่งมอบทรัพย์
ด้วย แต่ในบางกรณีอาจเป็นเพียงการส่งมอบทรัพยเ์ท่าน้ัน เช่นการซ้ือขายสังหาริมทรัพย์ ์กรรมสิทธ์ิในทรัพยสินก็โอนไปยังผู้ซื้อ
ตัวอย่างเช่น นายไก่ตกลงกับนายภาษีว่านายไก่จะส่งมอบเครื่องตัดหญ้าให้กลับกันยายภาษีต้องชำระเงิน 4000บาท
แต่ในการซ้ือขายอสังหาริมทรัพย์ต้องท าสัญญาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ กรรมสิทธิ์ จึงจะโอนไปยังผู้ซ้ือ
เงินตรา
เงินตรามีลักษณะพิเศษกว่าทรัพย์อื่น เพราะทำหน้าที่เป็นเครื่องวัดราคา หรือมูลค่าของทรัพย์สิน เป็นเครื่องกำหนดค่าแรงงานและค่าบริการเงินตราจึงกลายเป็นสื่อกลางในการซ้ือขาย หรือการโอนโดยมีค่าตอบแทนในรูปแบบอื่น เงินตราจึงเป็นวตัถุทั่วไปของหนี้
การโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สิน และการส่งมอบทรัพย์
ด้วย แต่ในบางกรณีอาจเป็นเพียงการส่งมอบทรัพยเ์ท่าน้ัน เช่นการซ้ือขายสังหาริมทรัพย์
หน้าที่ในการชำระหนี้
กรณีวัตถุแห่งหนี้ซึ่งเลือกที่จะชำระได้
สิทธิในการเลือก(มาตรา 198,201)
(ก)ถ้าได้กำหนดผผู้เลือกไว้ สิทธิในการเลือกก็ต้องเป็นไปตามที่ตกลงกัน
(ข) ถ้าไม่ได้กำหนดว่าใครเป็นคนเลือก สิทธิการเลือกนั้นจะตกเป็นลูกหนี้
(ค) ถ้ากำหนดให้บุคคลภายนอกเป็นผู้เลือก และผู้นั้นไม่อาจเลือกได้ สิทธิการเลือกจะตกไปยังฝ่ายลูกหนี้
(ง) ถ้ากำหนดให้ฝ่ายลูกหนี้หรือฝ่ายเจ้าหนี้ และฝ่ายนั้นไม่เลือกภายในเวลาที่กำหนด สิทธิการเลือกนั้นจะตกไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง
วิธีการเลือก
ก.การเลือกก็ต้องแสดงเจตนาแก่อีกฝ่ายหนึ่งโดยชัดแจ้ง(มาตรา 199)
ข.ผู้เลิอกเป็นบุคคลภายนอกซึ่งไม่ใช่ฝ่ายลูกหนี้และเจ้่าหนี้ เมื่อแสเงเจตนาเลือกแล้วลูกหนี้ต้องแจ้งความแก่เจ้าหนี้ (มาตรา 201)
ระยะเวลาในการเลือก(มาตรา 200)
ก.มีกำหนดระยะเวลาให้เลือก หากฝ่ายที่มีสิทธิการเลือกไม่เลือกภายในกำหนด สิทธินั้นจะตกไปยังอีกฝ่าย
ข.มิได้กำหนดระยะเวลา เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ ผ่ายไม่มีสิทธิเลือกกำหนดระยะเวลาพอสมควรพร้อมบอกกล่าวฝ่ายที่มีสิทธิเลือกในกำหนดเวลา
ผลของการเลือก(มาตรา 199)
หากได้แสดงเจตนาเลือกแก่อีกฝ่ายแล้ว ท่านให้ถือว่าการชำระหนี้นั้นเป็นการมาแต่ต้น
กรญีการชำระหนี้เป็นพ้นวิสัย 199 วรรคสอง
หนี้ตกเป็นพ้นวิสัยมาแต่ต้น
การชำระหนี้บางส่วนนั้นพ้นวิสัยก่อนมีนิติกรรมแม้มีการตกลงเป็นกันแต่ตกลงนั้นย่อมโมฆะ
หนี้กลายเป็นพ้นวิสัยภายหลัง
ก.กรณีการชำระหนีี้เป็นพ้นวิสัยที่ฝ่ายลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ หากการพ้นวิสัยมิได้เกิดจากลูกหนี้
ข.กรณีการชำระหนี้เป็นพ้นวิสัยที่ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบ หากการพ้นวิสัยเกิดจากลูกหนี้ซ้ึงเจ้าหนี้ชอบเรียกค่าชดใช้สินไหมทดแทนแก่ลูกหนี้ เว้นแต่ตกลงเป็นอย่างอื่น
วัตถุแห่งหนี้กับวัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม
วัตถุแห่งหนี้
ทั้งสองมีหน้าที่ชำระหนี้ให้ซึ่งกันและกัน
การก่อหนี้มีหน้าที่หลายประเภทอาจเกิดจากนิติกรรมเอง หรือหนี้จากการละเมิด จัดการงานนอกศาล และลาภมิควรได้
การชำระหนี้ตามวัตถุแห่งหนี้มีเพียง 3 อย่างเช่น หนี้กระทำการ หนี้งดเว้นกระทำการ การส่งมอบทรัพย์
วัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม
การก่อมีเฉพาะตัวนิติกรรมเท่านั้น
ไม่ได้จำกัดจำนวนของนิติกกรมขึ้นอยู่กัยความประสงค์ของผู้ทำนิติกรรม
โอนกรรมสิทธิ์จากผู้ขายไปยังผู้ซื้อ
ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้
ทรัพย์ที่จะส่งมอบเป็นทรัพย์ทั่วไป
ทรัพย์นั้นเป็นวัตถุแห่งหนี้
ลูกหนี้ต้องกระทำการส่งมอบทรัพย์สินนั้นทุกประการตามหนี้
ลูกหนี้กำหนดทรัพย์ด้วยความยิมยอมของเจ้าหนี้
ทรัพย์ที่ต้องส่งมอบเป็นระบุเพียงประเภท
ทรัพย์ที่เป็นเงินตรา
เงินตราเป็นเพียงเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนเป้นสินค้าหรือบริการให้เกิดความสะดวก
หน้าที่ในการชำระหนี้
กำหนดเวลาชำระหนี้
หนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระ มาตรา 206
1)กำหนดเวลาชำระหนี้เป็นที่สงสัย
เจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระก่อนถึงกำหนดเวลาชำระหนี้มิได้ แต่ฝ่ายลูกหนี้จะชำระหนี้ก่อนกำหนดนั้นก็ได้
2)กำหนดเวลาขำระหนี้ไม่เป็นที่สงสัย (มาตรา 204)
ก.กำหนดเวลาชำระหนี้ตามแห่งปฏิทิน
ลูกหนี้จะตกเป็นผู้ผิดนัดโดยเจ้าหนี้ต้องเตอน หากหนี้ถึงกำหนดเวลาแล้ว
ข.กำหนดเวลาชำระหนี้่มิใช่ตามปฏิทิน
หากไม่ทราบเวลาอันชัดเจนเจ้าหนี้จะต้องเตือนลูกหนี้ก่อนโดยให้เวลาพอสมควรแก่มูลหนี้ หากเจ้าหนี้เตือนแล้วลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ ลูกจะตกเป็นผู้ผิดนัด
หนี้ที่มิได้กำหนดเวลาชำระหนี้ (มาตรา 203)
ระยะเวลาการชำระหนี้ให้อนุมานจากพฤติการณ์นั้นๆไปซึ่งเจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ลูกชำระหนี้หากเวลาอันควรถึงกำหนด
ผลของการผิดนัดของลูกหนี้
กฎหมายลักษณะหนี้
1)ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดแต่การผิดนัด(มาตรา 215 วรรคแรก)
การที่ลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดนั้นก็ถือว่าเป็นการที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ให้ต้องตามประสงค์แห่งมูลหนี้ ดังนั้นเจ้าจะเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายที่อันเกิดจากผิดนัดนั้นก็ได้
2)เจ้าหนี้อาจไม่รับชำระหนี้(มาตรา 216)
การที่ลูกหนี้ผิดนัดเป็นเหตุให้ชำระหนี้กลายเป็นอันไร้ประโยชน์แก่เจ้าหนี้ เจ้าหนี้สามารถบอกปัดไม่รับการชำระหนี้นั้นและเรียกค่าสินไหมทดแทนจากการไม่ชำระหนั้นั้นก็ได้
3)ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดระหว่างผิดนัดเพิ่มขึ้น(มาตรา 217)
เป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นระหว่างผิดนัดเมื่อไม่ชำระหนี้และลูกหนี้ต้องตกเป็นผู้ผิดนัดแล้วเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์นั้นไม่ว่าจะด้วยความประมาทองลูกหนี้หรือเพราะอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นระหว่างผิดนัด ลูกต้องรับผิดชอบเพิ่มระหว่างนั้น เว่นแต่ลูกหนี้พิสูจน์ได้ว่าความเสียหายยังคงเกิดขึ้นแม้ส่งมอบแก่เจ้าหนี้
การผิดนัดไม่ชำระหนี้
การผิดนัด
ลูกหนี้ผิดนัดโดยต้องตักเตือนก่อน
หนี้ที่กำหนดเวลามิได้ตามปฏิทิน(มาตรา 204)
หนี้ที่ชำระไม่อาจกำหนดวันที่แน่นอนได้ดังนั้นเจ้าหนี้ต้องให้คำเตือนแก่ลูกหนี้ก่อนหากลูกไม่ชำระหนี้ตามที่เจ้าหนี้เตือนลูกหนี้ถือว่าผิดนัด
หนี้ไม่มีกำหนดชำระหนี้
หนีที่ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ไว้และจะอนุมานจากพฤติการณ์ก็มิได้ การเรียกให้ลูกชำระหนี้เจ้าหนี้ต้องเตือนให้ลูกหนี้ชำระหนี้ หากไม่มีการเตือนให้ชำระหนี้ลูกไม่ถือว่าผิดนัดและไม่มีหน้าที่ชำระหนี้
ลูกหนี้ผิดนัดโดยเจ้าหนี้ไม่ตักเตือน
หนี้ที่กำหนดชำระหนี้ตามปฏทิน
หนี้ที่มีวันเวลากำหนดชัดเจน ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนดเวลา ลูกหนู้ถือว่าเป็นผู้ผิดนัดโดยที่เจ้าหนี้ไม่ต้องเตือน
หนี้ละเมิด(มาตรา 206)
หนี้ละเมิดลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดนับแต่ที่ทำละเมิดและมีหน้าที่จ่ายค่าสินไหมทดแทนทันทีที่ทำละเมิดโดยไม่ต้องเตือนอย่างใด
กำหนดชำระหนี้กับการผิดหนี้
กำหนดชำระหนี้
ระยะเวลาที่กำหนดให้ลูกหนี้ชำระหนี้
การที่เจ้าหนี้จะทำให้ลูกหนี้ผิดนัดได้นั้นต้องเป็นการเตือนลูกหนี้หลังจากที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว
การผิดนัด
เป็นผลของการไม่ชำระหนี้ตามกำหนด
หากหนี้ยังไม่ถึงกำหนดชำระหนี้ เจ้าหนี้ก็ไม่อาจทำให้ลูกหนี้ผิดนัดได้
กรณีที่ไม่ถือว่าลูกหนี้ผิดนัด
เหตุเกิดจากเจ้าหนี้เอง(มาตรา 207,มาตรา210)
เจ้าหนี้ปฏิเสธรับชำระหนี้ของลูกหนี้ เรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก่อนกำหนดเวลาหรือเจ้าผิดนัดเกิดจากพฤติการณ์ของเจ้าหนี้เองหรือเจ้าหนี้มีส่วนด้วย
เหตุเกิดจากบุคคลภายนอก
เหุตเกิดจากพฤฤติการณ์บุคคลภายนอกซึ่งเป็นเรื่องนอกอำนาจของลูกหนี้จะป้องกันได้ แต่หากลูกหนี้มีส่วนผิดด้วยลูกหนี้ย่อมอ้างไม่ได้
เกิดจากธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติที่ลูกหนี้ไม่อาจคาดการณ์และไม่อาจป้องกันได้ก็ถือว่าเป็นพฤติการณ์ที่ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบแต่การอ้างพฤติการณ์ที่ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบในการชำระหนี้ตามกำหนดเท่านั้นแต่หนี้ก็ยังคงอญู่ มิได้เป็นเหตุพ้นวิสัยตามมาตรา 219