Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเเบบองค์รวมในภาวะวิกฤติเเละฉุกเฉิน - Coggle Diagram
การพยาบาลเเบบองค์รวมในภาวะวิกฤติเเละฉุกเฉิน
ภาวะวิกฤตทางจิตสังคม(Psychological Crisis)
ความหมาย
เป็นสิ่งที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นเมื่อบุคคลเผชิญกับอุปสรรคที่คุกคามต่อเป้าหมายชีวิตเเละไม่สามารถเอาชนะได้
ทฤษฎีภาวะวิกฤต
อันตรายเนื่องจากเป็นสิ่งที่คุกคามต่อบุคคลเเละครอบครัวซึ่งมักเกิดในระยะเเรกที่ต้องเผชิญกับภาวะวิกฤต เเต่เมื่อเวลาผ่านไป ภาวะวิกฤตอาจเปลี่ยนเป้นโอกาส เนื่องจากระหว่างบุคคลเผชอญกับภาวะวิกฤตนั้นบุคคลจะมีโอกาสได้พัฒนากลยุทธ์ในการเผชิญปัญหา ทำให้ตนเองสามารถผ่านพันวิกฤตได้ดีขึ้น
ปัจจัยพื้นฐาน3ปัจจัย
การรับรู้ต่อเหตุการณ์
ระบบเกื้อหนุนค้ำจุนในสถานการณ์เฉพาะหน้า
กลไกการเผชิญปัญหา
ระยะของภาวะวิกฤต
ระยะวิกฤตทางอารมณ์
ระยะที่1 ปัญหาเกิดขึ้น
ระยะที่3 เข้าสู่จุดตึงเครียด
ระยะที่4 ภาวะสิ้นหวัง
ระยะที่2 เข้าสู่ภาวะอ่อนไหว
ระยะก่อนเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์
ระยะหลังวิกฤตทางอารมณ์
ชนิดของภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตที่เกิดจากการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ
ภาวะวิกฤตที่เกิดจากเหตุการณ์ต่างๆที่ผ่านเข้ามาในชีวิต(ไม่คาดคิดล่วงหน้า)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะวิกฤต
สุขภาพร่างกาย
วิธีการเผชิญปัยหาเเละความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
การซับซ้อนเเละความรุนเเรงของงปัญหา
การสนับสนุนช่วยเหลือ
กลไกทางจิต
บุคลิกภาพ
การรับรู้ต่อสถานการณ์
ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม
ความรู้สึกของบุคคลในภาวะวิกฤต
ความกลัว
หมดหนทาง
ความกังวล
ภาวะฉุกเฉินจากกลุ่มที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายผิดปกติเป็นผลมาจากการรักษาด้วยยา(Medication induced movement disorder)
ความหมาย
ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยเมื่อใช้ยาในการรักาาเเล้วส่งผลกระทบหรือมีเเนวโน้มที่จะรบกวนผลการรักษาที่ต้องการ โดยภาวะฉุกเฉินจากฤทธิ์ยาข้างเคียงของยารักษาฌรคจิตที่เกิดขึ้น
ประเภทของกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวขของร่างกายที่ผิดปกติเป็นผลมาจากการรักษาด้วยยา
การเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ
Bradykinesia ความกว้างในการเคลื่อนไหวลดลงหรืออยู่นิ่ง
Rigidity เกร็งกล้ามเนื้อขณะเคลื่อนไหว
Pakinsonsonism อาการรวมของกล้ามเนื้อเคลื่อนไหวช้า
Postural intstability ทรงตัวลำบาก พบใด้ในผู้ป่วยพาคินสัน
การเคลื่อนไหวมากผิดปกติ
การเคลื่อนไหวในขฯะที่พักหรือหยุดนิ่ง
การสั่นในขณะที่ร่างกายส่วนนั้นเคลื่อนไหว
อาการสั่นที่น้อยมากจนบางครั้งไม่สามารถสังเกตเห็นด้วยตาเปล่า
อาการสั่นไม่ทราบสาเหตุ
อาการสั่นที่พบในผู้ป่วยพากินสันโดยตรง
อาการสั้นที่บริเวณต้นขาทั้งสองข้าง
สั่นในลักษณะช้าๆ
การสั่นจากผลข้างเคียงการใช้ยา