Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดวิทยาการระบาดเชิงสังคม - Coggle Diagram
แนวคิดวิทยาการระบาดเชิงสังคม
ปัจจัยกำหนดภาวะสุขภาพ
ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม
สิ่งที่วัดเปรียบเทียบปัจจัย
อาชีพ
การศึกษา
รายได้
การแบ่งชนชั้นวรรณ กลุ่มชาติพันธ์
ความเท่าเทียมทางเพศของหญิงและชาย
กฎหมายการดูแลสุขภาพ นโยบายของรัฐ (หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า)
การศึกษา
การควบคุมการค้า ที่มีผลต่อสุขภาพ เช่น สุรา บุหรี่
ระบบบริการสุขภาพ
ความแตกต่างทางเศรฐกิจ
ความแตกต่างทางสังคม
ตัวกำหนดสุขภาพกลาง
คือ
ตัวกำหนดโครงสร้าง รวมกับ ตัวกำหนดสุขภาพเชิงสังคมที่ไม่เป็นธรรม
ไปสู่ความเป็นธรรมของสุขภาพ
ประกอบด้วย
สภาวะแวดล้อมที่สำคัญ
สภาวะแวดล้อมทางจิตสังคม
ปัจจัยพฤติกรรม และ ชีววิทยา
ระบบสุขภาพ
ทุนทางสังคม
เครื่อข่ายทางสังคม
ความเชื่อของสังคม
แหล่งข้อมูลสำหรับบุคคล
การช่วยเหลืออำนวยความสะดวกต่างๆของสังคม
ทุนทางสังคม 6 ระดับ
๒) ระดับกลุ่มทางสังคม และองค์กรชุมชน
ประกอบด้วย ๑) ระดับบุคคลและครอบครัว
๓) ระดับหน่วยงานและแหล่งประโยชน์
๔) ระดับชุมชนหรือหมู่บ้าน
๕) ระดับตำบล
และ ๖) ระดับเครือข่าย
ความเครียดจาการทำงาน
ค่าจ้าง
การเลื่อนตำแหน่ง
ความมั่นคงในการทำงาน
ความเครียดจากการทำงานที่ส่งผลต่อสุขภาพของผู้ให้บริการ
อัตราค่าตอบแทนที่ไม่เหมาะสมกับภาระงาน
ความเสี่ยงสูงที่ต้องแบกรับ
คามสัมพันธ์ทางสังคม
ญาติ
เพื่อนสนิท
คู่ครอง
มีผลต่อการเลือกรับบริการ
ความเชื่อมั่น,ความไว้วางใจ,ค่านิยม
บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน : : :
มีความสามารถในการพัฒนาการจัดการและกำกับดูแลกลุ่มเป้าหมาย
มีความสามารภในการดูแลกลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มเฉพาะโรคที่มีปัญหาซับซ้อน
มีความสามารถในการประสานงาน
มีความสามารถในการเสริมพลังอำนาจ/สอน/ฝึก/พี่เลี้ยง
มีความสามารถในการให้คำปรึกษาทางคลินิก
มีความสามารถในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
มีความสามารถในการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมและตัดสินใจเชิงจริยธรรม
มีความสามารถในการในการจัดการและประเมินผลลัพธ์
มีความสามารถในการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
พยาบาลชุมชนควรนำไปปรับใช่
1.หาทุนทางสังคมและร่วมมือกับชุมชนเพื่อดำเนินกิจกรรม
เป็นส่วนหนึ่งของศักยภาพของชุมชนในการพัฒนา
และการแก้ปัญหา โดยเน้นวิธีการทำงาน
และกระบวนการจัดการของแต่ละทุนทางสังคม
ส่งเสริมให้ผู้มีบทบาทสำคัญ 4 คนนำกิจกรรม
สัมพันธ์ของทุนทางสังคม คนสำคัญ งานและกิจกรรม
รวมทั้งผลกระทบต่อคนในชุมชนและต่อศักยภาพของชุมชน
อันประกอบส่วนเป็น “ระบบการจัดการสุขภาวะของชุมชน”
3.ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของคนในชุมชนเพื่อพัฒนาแผนการติดตามและประเมินผลกิจกรรมทุนทางสังคม
ชุดกิจกรรมการพัฒนา 6 ชุดกิจกรรมหลัก
1.พัฒนาศักยภาพ
2.พัฒนาหรือปรับปรุงสภาพแวดล้อม
3.พัฒนาบริการ
4.จัดตั้งกองทุนหรือสวัสดิการ
5.พัฒนาและนำใช้ข้อมูล
6.พัฒนากฏ กติกา
ระบียบ
แนวคิดวิทยาการระบาดวิทยา :
เป็นสาขาหนึ่งของระบาดวิทยา
การกระจายทางสังคม
ตัวกำหนดสุขภาพทางสังคม
เป็นการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงสังเคราะห์ ยังรวมถึงความสัมพัธ์กับระบบเศรษฐกิจ และ สังคม
เน้นเหตุการณ์ทางสังคม
เศรษฐกิจสังคม
ความยากจน
เครือข่าย/การสนับสนุนทางสังคม
การทำงาน
สังคม
สิ่งแวดล้อม
จิตวิทยา พฤติกรรม
ปัจจัยทางประชากร และ สังคม
เพศ
หญิง ชาย
อายุ
เด็ก ในโรคหัด
สถานภาพสมรส
คนโสด สูบบุหรี่
การศึกษา
การศึกษาดี มีการสูบบุหรี่ที่น้อยลง
อาชีพ รายได้
ความเครียด
ชาติพันธุ์
ชาวผิวดำในอเมริกา มีการตายที่สูง
ศาสนา
มีส่วนช่วยสนับสนุนทางสังคม การออกกำลังกาย
เครือข่าย/การสนับสนุนทางสังคม
social Network and Social Support
พฤติกรรม
สูบบุหรี่ อาหาร อ้วน ออกกำลังกาย
ศาสตร์ที่เรียกว่าระบาดวิทยาสังคม
มองเห็นปัญหาแบบองค์รวม
แก้ไขที่เป็นปัจจัยเสี่ยงได้ตรงจุดมากขึ้น
มิติ กาย ใจ สังคม
สามารถค้นหา สาเหตุ การป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพ และควบโรคในชุมชนได้
Biopsychosocial model (BPS)
Biological
ฮอร์โมน
สารสื่อประสาท
พันธุกรรม
Socialogical
การศึกษา
การยึดติด
วัฒนธรรม
การจ้างงาน/ค่านิยม
สิ่งแวดล้อม
ชาติพันธุ์
Psychological
บุคลิกภาพส่วนบุคคล
การปรับตัว
ความสัมพันธ์ระหว่างคน
state of health and wellness
ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยสามารถกลับมามีสุขภาพที่ดีได้ อาศัยความตระหนักการศึกษา
บุคคลที่จัดการสุขภาพได้จะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีได้
โมเดลระบาดวิทยาเชิงสังคม
SOCEPID ของ Cwikel :
-การสังเคราะห์ประเด็นสังคม
-การสังเกตประชากรและปัญหา
-รวมรวมข้อมูลทางวัฒนธรรม
-ข้อมูลเชิงประจักษ์โดยใช้สามเหลี่ยมทางระบาดวิทยา
-กำหดนโยบาย โปรแกรม วิจัยในอนาคตและเผยแพร่ต่อไป
Agent - Host-Environment model
environment
agent
Host
การวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
แบ่งออกเป็น 3 ประเด็นหลัก
ทุนทางสังคม
คนในชุมชน กลุ่มสังคม และองค์กร
กิจกรรมช่วยเหลือ/ความร่วมมือกัน
ความสัมพันธ์ทางสังคม
ผสมผสานปัจจัยกำหนดสุขภาพระดับบุคคลและระดับประชากร
การวิจัยเชิงคุณภาพในระบาดวิทยา
สาเหตุในด้านระบาดวิทยามักไม่ค่อยพิจารณาหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จาการวิจัยเชิงคุณภาพ
โดยการศึกษาปัจจัยที่มีด้านบุคคล สังคม พฤติกรรม แตกต่างกัน
ค้นหาสาเหตุของเหตุการณ์
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของประเด็นปัญหาทางสังคมทั้งหมด