Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 การพยาบาลจิตเวชในเด็กและวัยรุ่น - Coggle Diagram
หน่วยที่ 5 การพยาบาลจิตเวชในเด็กและวัยรุ่น
Attention Deficit Hyperactivity
Disorders
โรคสมาธิสั้นเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคพัฒนาการระบบประสาท (Neurodevelopmental Disorders)
•พบในเด็กวัยเรียน เป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ทำให้เด็กมีปัญหาการเรียน การเข้าสังคม
•ส่งผลถึงด้านอื่นๆของชีวิตได้เมื่อเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่
ลักษณะอาการตามเกณฑ์การวินิจฉัย
DSM-5 ประกอบ3กลุ่มอาการหลักคือ
· อาการขาดสมาธิ (inattention)
· อาการซน อยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity)
·อาการหุนหันพลันแล่น(impulsiveness)
สาเหตุทางสมองและ
สารสื่อนำประสาท
สมอง: Prefrontal
สารสื่อนำประสาท
Norepinephrine
Dopamine
Serotonin
การรักษาและการพยาบาล
1.กลุ่มยาที่ออกฤทธ์ิกระตุ้นสมองและประสาท ส่วนกลาง เช่น Methylphenidate
2.กลุ่มยาท่ีไม่ออกฤทธ์ิกระตุ้นสมองหรือประสาท ส่วนกลาง เช่น Atomoxetine, Clonidine, และยารักษาอาการซึมเศร้า
1.การใช้ยารักษา:methylphenidateatomoxetine 2.พฤติกรรมบำบัด:ซน,สมาธิ,มารยาท
1)ลดสิ่งเร้าตัวกระตุ้นให้น้อยที่สุด
2) เพิ่มสมาธิ
3) เพิ่มการควบคุมตนเองของเด็ก
4.การฝึกทักษะ&ให้ความรู้ผู้ปกครอง
5.การจัดการศึกษา
Learning Disorders
โรคบกพร่องทางการเรียนรู้
แบ่งเป็น 3 ด้าน
1.ความบกพร่องด้านการอ่าน
ความบกพร่องด้านการเขียนสะกดคำ
ความบกพร่องด้านคณิตศาสตร์
ลักษณะอาการ
ตามเกณฑ์การวินิจฉัยDSM-5 คือ มีความยากลาบากในการเรียนรู้และทักษะท่ีใช้ในการเรียนอย่างต่อเนื่องนานกว่า 6 เดือน โดยมีอย่างน้อย 1 จาก 6 อาการดังนี้
อ่านช้สหรืออ่านไม่ถูกต้อง
ยากลำบากในการทำความเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน
ยากลำบากในการสะกดคำ
ยากลำบากในการเขียน
ยากลำบากในการจัดการกับจกนวน ตัวเลข และการคำนวณ
6.ยากลำบากในเหตุผลทางคณิตศาสตร์
ผลกระทบจาก LD
เด็กมีภาพลบต่อตนเอง มองว่าตนเองแตกต่างจากเพื่อน
2.ปัญหาความสัมพันธ์ภายในครอบครัว
3.ปัญหาความสัมพันธ์กับครู
4.ปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อน
Game and
Internet
WHO จัดให้เป็นโรคทางจิตเวชเรียกว่า “Gaming Disorder” โดยให้นิยามว่า“เป็นรูปแบบของพฤติกรรมการเล่นเกม ที่ผู้เล่นไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ต้องเล่นอย่างต่อเนื่องและ Disorders/Learning Disorder
Game and Internet, Addiction/ Gambling
ระยะเวลาการเล่นเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยไม่สนใจทำกิจกรรมอื่น และยังคงเล่นต่อไปแม้จะมีผลกระทบทางด้านลบตามมา ส่งผลกระทบต่อหน้าท่ีความรับผิดชอบหลัก ทั้งเรื่องส่วนตัว ครอบครัว สังคม การเรียน และการทางาน มีพฤติกรรมอย่าง ต่อเนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย 12 เดือน”
ลักษณะของ
เด็กติดเกม
•แสวงหาการเล่น
•ต้องเล่นนานข้ึนเรื่อยๆ
•หากถูกบังคับให้หยุดเล่น จะมีปฏิกิริยาต่อต้าน
•ส่งผลกระทบต่อหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
สาเหตุ
•ปัจจัยในตัวเด็กเอง
•ปัจจัยทางครอบครัว
•ปัจจัยทางสังคม
•ปัจจัยจากเกม
แนวทางป้องกัน
และแก้ไข
1) ทาความตกลงเรื่องกฎกติกากันล่วงหน้าก่อนที่จะอนุญาตให้เด็กเล่นเกมโดยให้เด็กมีส่วนร่วมและมีการกำหนดรายละเอียดที่ชัดเจน
2) คอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นเกมควรตั้งไว้ในสถานที่โล่ง
3) มีกิจกรรมท่ีทำร่วมกันในครอบครัว
Gambling
addiction
เสพติดการพนัน
WHO กำหนดให้พฤติกรรมติดการพนันเป็นความผิดปกติทางจิตชนิดหนึ่ง“แม้เจ้าตัวรู้ว่าสิ่งที่ทำลงไปเป็นสิ่ง ไม่ดีเป็นสิ่งผิดหรือส่งผลร้ายต่อชีวิต เช่น การเงินการเรียน สุขภาพ หรือสังคม แต่ก็อดไม่ได้ที่จะไม่ทำ คล้ายการติดสารเสพติด มีจิตใจจดจ่ออยู่กับการพนันตลอดเวลา ไม่สามารถคิด หรือทำอย่างอื่น มีแต่ความโหยหาอยากเล่น ยากที่จะควบคุมในท่ีสุดก็เล่นการพนัน ต่อโดยไม่ยั้งคิดพฤติกรรมพวกน้ีคล้ายพฤติกรรมย้ำคิดย้ำทำซึ่งต้องรับการบำบัดรักษา”
สาเหตุ
•เช่นเดียวกับยาหรือแอลกอฮอล์
•กลไกการเสพติดพนนั ไปมีผลกระตุน้ สมองส่วนระบบ การให้รางวัล (Brain’s reward system) ซึ่งเป็นต้นเหตุการณ์ติด
•สารสื่อประสาทในสมองโดปามีนเสียสมดุล
การวินิจฉัย
โดยได้จัดลำดับเป็นคำย่อ WAGEROFTENเพื่อให้สะดวกในการจดจำได้ง่ายๆ
อาการ
Withdrawal
Affect significant relationship
3.Goal is to get even by chasing
4.Escape
5.Rescue
6.Outside the laws
Failure to control
8.Tolerance
9.Evades telling the truth
10.Needs to think about gambling
การบำบัดรักษา
การติดพนันจะเป็นภาวะเรื้อรังและมักจะกลับเป็นซ้ำได้บ่อยๆ
•cognitive behavioral therapy
•Counseling
•การรักษาด้วยา:ยาคลายกังวล ยาต้านเศร้า