Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury), นางสาวโศรยา บาริศรี รหัส 62113301075 …
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
Cranial injury
การมีเลือดออกภายใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ (Cephalhematoma)
ประวัติการคลอด
Cephalopelvic disproportion
Precipitate labour
การทำ vacuum extractio
การทำ forceps extraction
การคลอดท่าก้น
อาการและอาการแสดง
พบก้อนนูนหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว
ถ้ามี cephalhematoma 2 ก้อน จะเกิดขึ้นทั้ง 2 ข้าง
ทารกอาจซีดเพราะเสียเลือดมาก
คลำพบก้อนนุน อยู่บนกะโหลกศีรษะแต่ละชิ้น
ลักษณะของก้อนนุนคลำได้ค่อนข้างตึง มีขอบเขตชัดเจน
การพยาบาล
สังเกต ลักษณะ ขนาด และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนใน เพื่อป้องกันการกดทับที่จะกระตุ้นให้เลือดออก
มากขึ้น
งเกตอาการซีด การเจาะหาค่า hematocrit และดูแลการให้เลือดตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลเกี่ยวกับการหาค่า microbilirubin ถ้ามีภาวะตัวเหลือง ให้การพยาบาลทารกที่ได้รับ phototherapy ตามแผนการรักษาของแพทย์
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจถึงปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น และไม่ใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจาะเอาเลือดออก
การบวมน้ำใต้หนังศีรษะ (Caput succedaneum)
ประวัติการคลอด
การคลอดล่าช้า
การคลอดยาก
ส่วนนำถูกกดอยู่นาน เช่น การคลอดท่า OPP
การทำ vacuum extraction
อาการและอาการแสดง
พบได้ทันทีแรกเกิด
คลำก้อนบวมได้บริเวณ Occipito parietal region
การบวมของหนังศีรษะจะบวมล้ำ suture
ใช้นิ้วกดจะเป็นรอยบุ๋ม ภายหลังปล่อยนิ้วออก
ถ้าพบ caput 2 ก้อน จะพบข้างเดียวกัน
การพยาบาล
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
ถ้ามีรอยแดงซ้ำ (ecchymoses) มาก อาจต้องส่องไฟเพื่อรักษาภาวะตัวเหลืองให้การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาด้วย phototherepy
สังเกต ลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ของ caput
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจถึงปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น
บันทึกอาการและการพยาบาล
กะโหลกศีรษะร้าวหรือบุบ (fracture of the skull)
ประวัติการคลอด
ทำ forceps extraction
ศีรษะเด็กกดทับกับ promontary of sacrum ในรายที่มี CPD หรือ
เชิงกรานผิดปกติบางประการ
การคลอดศีรษะเด็กท่ากัน ในขณะที่ศีรษะยังติดแน่นอยู่ในเชิงกรานมารดา
อาการและอาการแสดง
ตรวจพบรอยบุ๋มที่ศีรษะทารก
ถ้ากระดูกบุ๋มกดเนื้อสมอง และรายที่มีการฉีกขาดของเส้นเลือด
ทำให้เกิดเลือดออกในสมองได้
การพยาบาล
ห้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ระวังการกระทบกระเทือน
ให้ทารก rest ใน crib ไม่รบกวนทารกโดยไม่จำเป็น
สังเกตอาการผิดปกติต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นอย่างน้อย 48 ชม. เช่น การเกร็ง กระตุก ซีดการหายใจ เป็นต้น
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจถึงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น และไม่ใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจะเอาเลือดออก
ดูแลทารกตามแผนการรักษาของแพทย์ ในรายที่มี depressed fracture และต้องทำผ่าตัดเพื่อดึงกระดูกที่บุ๋มขึ้นมา
Peripheral nerve injuries
อัมพาตของเส้นประสาทเบรเคียล (Brachial palsy)
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอดที่มีกันเป็นส่วนนำ การคลอดยากบริเวณแขนและไหล่
อาการและอาการแสดง
ขยับเขยื้อนแขนส่วนบนด้านที่ได้รับอันตรายไม่ได้
กล้ามเนื้อแขนข้างที่เป็นจะอ่อนแรง
แขนข้างที่เป็นจะวางแนบชิดลำตัว ข้อศอกเหยียด แขนช่วงล่างหมุนเข้าด้านใน มือคว่ำา
ไม่สามารถหมุนแขนออกด้านนอก และหงายแขนส่วนล่างได้
Moro Reflex เสียไป
ขยับมือไม่ได้ ข้อมือตก นิ้วคลายกำไม่ได้
การพยาบาล
จัดท่าของทารกให้เหมาะสม
ดูแลผ้าที่ strap ไว้ให้เหมาะสม ไม่หลวมมากเกินไป หรือตึงจนเกินไป
ห้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลและระมัดระวัง
รบกวนทารกน้อยที่สุด ให้การพยาบาลในเตียง
สังเกตอาการของทารก ถ้าอาการไม่ดีขึ้นภายใน 1-3 สัปดาห์ ควรรายงานแพทย์เพื่อการปรึกษาส่งทำกายภาพบำบัด
อัมพาตของเส้นประสาทเฟเชียล (Facial palsy)
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอดยากหรือใช้คีมดึง
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อของในหน้าชีกที่เส้นประสาทถูกกด จะไม่ขยับ
หน้าเบี้ยว ใบหน้า 2 ด้านจะไม่เท่ากัน
ตาซีกที่เสียจะปิดไม่สนิท หรือลืมตาอยู่ตลอดเวลา
ปากเบี้ยว
ไม่มีรอยย่นที่หน้าผาก
การพยาบาล
างตาให้สะอาดด้วย 0.9% N.S.S. และหยอดตาด้วย kemicitine
ดูแลเกี่ยวกับการได้รับนมและน้ำให้เพียงพอ
สร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
อัมพาตของเส้นประสาทกระบังลม (Phrenic nerve paralysis)
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอดที่มีกันเป็นส่วนนำ การคลอดยากบริเวณแขนและไหล่ในทารกตัวโต
อาการและอาการแสดง
กระบังลมด้านที่เป็นไม่หดตัว
ท้องขบน้อยมาก แต่แสดงการขยับหน้าอกมากขึ้น
มีอาการหายใจลำบาก
เสียงหายใจด้านที่เป็นจะค่อยลง
มีอาการของ Brachial palsy ร่วมด้วย (ไม่ทุกราย)
การพยาบาล
ให้ทารกนอนทับด้านที่เป็น ส่วนมากจะหายได้เอง พลิกตัวให้ทารกเมื่อให้นม หรือทำความสะอาดร่างกาย
ให้การพยาบาลตามอาการ
เตรียมออกซิเจนและเครื่องมือต่าง ๆ ให้พร้อมสำหรับการ Resuscitate
Fracture
กระดูกไหปลาร้าหัก (Fracture clavicle)
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอดไหล่ยากในการคลอดท่าศีรษะ การคลอดท่ากันที่ทารก
แขนเหยียด
ทารกตัวโต น้ำหนักมากกว่า 3,500 กรัม
อาการและอาการแสดง
กไม่ขยับแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก ไหล่ห่อและลู่ลง
รู้สึกกรอบแกรบเมื่อคลำบริเวณที่กระดูกหัก
แขน 2 ข้าง เคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
พบบวม ห้อเลือด ตรงที่ได้รับบาดเจ็บ เมื่อจับใต้แขน
กล้ามเนื้อ sternomastoid จะตึง ยกตัวทารกขึ้น
การพยาบาล
จัดให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกหักอยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว
ให้ทารก Rest นอนเฉย ๆ
สังเกตอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น และอาการทั่ว ๆ ไป
Check vital sign
งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดาและทารก
งานแพทย์ทันทีที่พบทารกมีกระดูกไหปลาร้าหัก
กระดูกต้นแขนหัก (fracture humerus)
การวินิจฉัย
การคลอดท่าก้น
การคลอดไหล่ยากในท่าศีรษะ
อาการและอาการแสดง
ทารกไม่งอแขน
ไม่เคลื่อนไหวแขนด้านที่หัก
เมื่อจับแขนขยับ ทารกจะร้องไห้
แขนบวม
การพยาบาล
ตรึงแขนโดยใช้ผ้าพันแขนให้แนบติดกับลำตัว เพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว 1-2 สัปดาห์
จับแขนตรึงไว้กับหน้าอก โดยให้ข้อศอกงอ 90 องศา แขนส่วนล่างและมือพาใช้ผ้าพันรอบแขนและลำตัว
ดูแลในเรื่องของการใส่ splint และอาการข้างเคียง
ให้ทารกได้ พักโดยนอนนิ่ง ๆ
บันทึกสัญญาณชีพ
สร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดาและทารก
กระดูกต้นขาหัก (fracture femur)
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอดท่ากันและการติ
ผู้ทำคลอดให้ประวัติการได้ยินเสียงหักขณะทำคลอด
อาการและอาการแสดง
ขาไม่เคลื่อนไหว
Moro reflex แล้วทารกไม่ยกขา
ทารกร้องไห้ เมื่อถูกตรงที่หักหรือจับให้เคลื่อนไหว
ต้นขาบวม
การพยาบาล
ให้การพยาบาลเกี่ยวกับการใส่เผือกขายาว
ให้การพยาบาลเกี่ยวกับการดึงขา
ให้ทารกได้พักโดย นอนนิ่ง ๆ
สร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดาและทารก
ห้การพยาบาลตามแผนการรักษาของแพทย์
เลือดออกภายในกะใหลกศีรษะ
(Intracranial hemorrhage)
ประวัติการคลอด
เชิงกรานแม่เล็กกว่าปกติ
ท่าท้ายทอยหันหลัง (OPP) ท่าหน้า หรือ ท่าก้น
ภาวะ CPD
ทำ vacuum extraction หรือ forceps extraction
Prolonged labour
Precipitate labour
อาการและอาการแสดง
Reflex ลดน้อยลงหรือไม่มี โดยเฉพาะ moro reflex จะเสียไป
กำลังกล้ามเนื้อไม่ดี อ่อนแรง
ซีด หรือมีอาการเขียว (cyanosis)
ไม่ร้อง ซึม
ดูดนมไม่ดี หรือไม่ยอมดูด
ร้องเสียงแหลม
การหายใจผิดปกติ
กระหม่อมโป่งตึง
ชัก
การพยาบาล
ให้ทารกอยู่ในตู้อบ (incubator)
เตรียมเครื่องมือในการให้ความช่วยเหลือทารกไว้ให้พร้อม
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ตรวจสอบสัญญาณชีพ (vital signs) บันทึกไว้ทุก 2-4 ชม.
สังเกตอาการของการมีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น การเคลื่อนไหวของร่างกาย เสียงร้อง กระสับกระส่าย และการซัก
ให้น้ำและน้ำอย่างเพียงพอ
นางสาวโศรยา บาริศรี รหัส 62113301075