Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Congestive heart failure with Pneumonia with Acute kidney injury, 2…
Congestive heart failure with Pneumonia with Acute kidney injury
Congestive heart failure
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยมากขึ้น นอนราบไม่ได้
หายใจลำบากตอนกลางคืน
ไอมีเสมหะ
หอบเหนื่อย
ปัสสาวะออกน้อยหรือออกบ่อยตอนกลางคืน
เท้าบวม กดทีรอยบุ๋ม ไม่มีบวมที่หน้าหรือหลังตา
ตัวเขียว ริมฝีปากเขียว
กระสับกระส่าย
ฟังปอดได้ยินเสียงCrepitationทั้ง2ข้าง ฟังชัดที่บริเวณสะบักบางรายได้ยินเสียงWheezingร่วมด้วย
กรณีศึกษา ผู้ป่วยเหนื่อยหอบมากขึ้น ไอมีเสมหะ
อ่อนเพลีย ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation
EKG:Normal sinus rhythm แต่ Right bundle branch block 6/07/2565
CXR : Film infiitration at Right upper lobe
CT chest: Lung clear abscess 26/07/2565
เกิดจากกล้ามเนื้อห้องล่างช้ายบีบตัวลดลง ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลง จะทำให้ปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง จะส่งผลให้เลือดเหลือค้างในหัวใจห้องล่างซ้ายมากขึ้น ความดันเลือดในหัวใจห้องล่างซ้ายจึงสูงขึ้น ดังนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจึงบีบเลือดส่งมายังหัวใจห้องล่างซ้ายน้อยลงปริมาตรเลือดและความดันเลือดในหัวใจห้องบนซ้ายจึงสูงขึ้นเรื่อยๆ เลือดจากปอดที่ฟอกแล้วก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนช้ายได้น้อยลง เป็นผลให้ความดันเลือดในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้น ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะน้ำท่วมปอด หอบเหนื่อย ไอและเขียว
สาเหตุ
หัวใจล้มเหลวอาจมีสาเหตุมาจากหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง ความดัน โลหิตสูง ความผิดปกติของ กล้ามเนื้อหัวใจ เช่น myocarditis ความผิดปกติ ของลิ้นหัวใจตีบ รั่ว หรือภาวะหัวใจทำงานหนักขึ้น ในกรณีที่มีปริมาตรของเหลวในระบบไหลเวียน เพิ่มขึ้น เป็นต้น
ประวัติการเจ็บป่วย
10ปี Hypertension ความดันโลหิตสูงร่วม Dyslipidemia
Pneumonia
ความหมาย
การที่ปอดได้รับอันตรายจากการติดเชื้อหรือจากสาเหตุอื่นส่งผลให้เนื้อปอดซึ่งประกอบด้วยพลาสมาและเม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า exudates (หนอง)เข้าไปอยู่ในถุงลม เนื้อปอดจึงแข็ง
สาเหตุ
1.เชื้อแบคทีเรียพบได้บ่อยที่สุดในคนทุกวัยStreptococcus pneumonia
2.แบคทีเรีย Staphylococcus aureus
3.เชื้อMycoplasma pneumonia
4.เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
5.สารเคมี เช่นสำลักน้ำมันก๊าด ควันพิษ สำลักอาหาร เข้าไปในปอด
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด
มีการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง เช่น ผู้ป่วยติดเตียงที่นอนนาน ไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติดหรือมีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจเจาะคอหรือใส่สายให้อาหาร
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่ายซึ่งมักพบในผู้ที่หมดสติ หรือชัก
ผู้ที่กินยาสเตียรอยด์เป็นประจำ
กรณีศึกษา ผู้ป่วยอายุ81 ปี On ET tube 6 กรกฎาคม 2565
เชื้อ Acinetobacter baumannii เป็นแบคทีเรียแกรมลบมีรูปร่างกลมท่อน (coccobacilli) เชื้อฉวยโอกาสและเป็นสาเหตสำคัญของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
15/07/2565 off 20/07/2565
Colitin 300 mg IV stat then 150 mg เป็นยาต้านเป็นยาต้านจลุชีพ polymyxinsเกิดอาการไมพึงประสงค์ต่อไต
15/07/2565 off 20/07/2565
Colitin 300 mg IV stat then 150 mg ป็นยาต้านเป็นยาต้านจลุชีพ polymyxinsเกิดอาการไมพึงประสงค์ต่อไต
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง หนาวสั่น หายใจหอบ
ในระยะแรกจะมีอาการไอแห้งๆไม่มีเสมหะต่อมา จะมีเสมหะขาวหรือขุ่นข้นออกเป็นสีเหลือง สีเขียว
อาการเหนื่อยหอบ หายใจเร็ว
อาการเจ็บหน้าอก เจ็บแปลบที่หน้าอกเวลาหายใจเข้าหรือไอแรงๆ
ผิวหนังเขียวคล้ำ ปลายมือปลายเท้าเขียว
กรณีศึกษา 25 กรกฎาคม 2565
T 39.7 องศาเซลเซียส หายใจเหนื่อยหอบ
ไอมีเสมหะ สีขาว
ผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการและการตรวจพิเศษ
Neutrophil 31.6 %N ปกติ 40-75 %N
Lymphocyte 51.8 %L ปกติ 20-50 %
RBC=3.36 M/ul ต่ำ ปกติ 4.6-6.2 M/uL
HCT 31.2% ต่ำ ปกติ 40-54 %
HGB 9.5 g/dl ต่ำปกติ 13-18 g/dl
MCHC 30.4g/dLต่ำ ปกติ 33-35g/dL
RDW 16.7 % ต่ำปกติ 11.5-14.5 %
Gram stain sputum
WBC 3+
Gram positive cocci in single and pair 2+
Gram positive cocci in cluster 1+
Gram negative Diplococci 1+
Budding yeast cell and Pseodohyphae 1+
CT chest: Lung clear abscess 26/07/2565
แผนการรักษา
25 ก.ค. 2565
Meropenem 500g iv +NSS 100ml v drip in 3 hr
Then meropenem 500 mg +NSS 100 ml iv drip q 24 hr
28/07/2565Berodual 1 NB q 4 hr c prn
2 ประเภท
(Community Acquired Pneumonia: CAP) อักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อที่เกิดนอกโรงพยาบาล
โรคปอดอักเสบที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล (Hospital Acquired Pneumonia: HAP)ปอดอักเสบจากการติดเชื้อ
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 81 ปี เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย
ศาสนาพุทธ สถานภาพสมรส อาชีพอดีตสมาชิก อสม.
รายได้ 15,00บาท/เดือน ที่อยู่ปัจจุบัน ต.นาข่า อ.เมือง
จ.อุดรธานี วันที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลอุดรธานี6กรกฎาคม 2565 วันที่รับไว้ในความดูแล25กรกฎาคม2565
Chief complaint
หอบเหนื่อย 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
(Present illness)
2 ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยหายใจหอบเหนื่อย มีอาการขาบวมบริเวณขาซ้ายมากขึ้น ไม่มีไข้ ไม่มีอาเจียน ไม่มีถ่ายเหลวมีการเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยลง วันต่อมามีอาการหอบเหนื่อยมากขึ้นกว่าเดิม ผู้ป่วยซึมลงมากกว่าเดิม เจ็บหน้าอกแปลบๆบริเวณหน้าอดซ้าย
การนอนราบนอนได้ อาการหอบเหนื่อยแน่นมากขึ้นกว่าเดิม ญาติจึงนำมาส่งโรงพยาบาลอุดรธานี วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เพื่อที่จะได้รักษาตามแผนการรักษา
Underlying disease
Old mi s/p CAG โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย
Dx Cerebral small vessel disease
ได้รับการวินิจฉัย Coronary Angiography โดยการรักษา ปี 2562 Percutaneous Coronary Intervention
ได้รับประทานยา clopidogrel 75 mg Tab oral 1 tab OD หลังอาหารเช้า
Hypertension ความดันโลหิตสูงร่วม Dyslipidemia
โดยการรักษารับประทานยา amlodipine 5mg tab oral 1 tab OD หลังอาหารเช้า, atorvastatin 40mg tab oral 0.5 tab OD ก่อนนอนกลางคืน ,losartan 100mg tab oral 0.5 tab OD หลังอาหารเช้า
Gout
โดยการรักษารับประทานยา allopurinol 100 mg/tab oral 1tab OD หลังอาหารเช้า, colchicine 0.6 mg tab oral 1 tab OD หลังอาหารเช้า
Acute kidney injury
การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงที่ไตลดลงอย่างเฉียบพลัน ส่งผลให้อัตราการกรองของไตลดลง ทำให้ในร่างกายมีระดับ SerumBUN และ Creatinine สูงขึ้น ไตจึงเก็บกัก Na และน้ำไว้มากขึ้นปัสสาวะจึงออกลดลง
สาเหตุ
สาเหตุก่อนไต
เกิดจากเลือดมาเลี้ยงไตไม่พียงพอ เกิดจากภาวะช็อก ขาดน้ำ ภาวะเลือดออกภาวะหัวใจวาย สารพิษและยาที่มีต่อไต
สาเหตุที่ไต
โรคที่เกิดจากเนื้อไต ทำให้เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน
สาเหตุหลังไต
การอุดตันทางเดินปัสสาวะเช่น ก้อนลิ่มเลือด นิ้ว ก้อนเนื้องอก
กรณีศึกษา สาเหตุก่อนไต
15/07/2565 off 20/07/2565
Colitin 300 mg IV stat then 150 mg ป็นยาต้านเป็นยาต้านจลุชีพ polymyxinsเกิดอาการไมพึงประสงค์ต่อไต
ผลทางห้องปฎิบัติการ
BUN 35 mg/dl ปกติ 8.-20.6 mg/dl
Creatinine 6.05 mg/dlปกติ 0.73-1.18 mg/dl
GFR 8 ปกติมากกว่า 90
CKD Stage 5
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะออกลดลง
บวม เหนื่อยง่าย
วับสน ซึมลง
หัวใจเต้นผิดปกติ
กรณีศึกษา ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย ปัสสาวะออกน้อย ปัสสาวะเหลือง มีตะกอน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจเนื่องจากภูมิต้านทานลดลง
2.เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีการติดเชื้อที่ปอด
6.รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดลงเนื่องจากท้อแท้หมดหวัง
5.แบบแผนการนอนหลับถูกรบกวนเนื่องจากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป
4.ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากภาวะซีด
3.มีภาวะของเสียคั่งในระแสเลือดเนื่องจากไตสูญเสียน้าที่ในการกรอง