Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์ผู้ฟังก่อนการนำเสนอ - Coggle Diagram
การวิเคราะห์ผู้ฟังก่อนการนำเสนอ
ขั้นเริ่มกระบวนการคิด
วิเคราะห์ผู้ฟัง
หัวข้อในการวิเคราะห์ผู้ฟัง
3.1 การวิเคราะห์สภาวะทางสังคมหรือทางประชากรของผู้ฟัง
3.1.3 เพศ
3.1.2 ระดับอายุ
วัยรุ่น
มีอารมณ์ค่อนข้างรุนแรง เชื่อมั่นในตนเอง ไม่ชอบการสั่งสอนชี้นำ เป็นวัยที่อยากทดลอง
วัยผู้ใหญ่
เป็นวัยที่คิดถึงสวัสดิภาพของครอบครัวและความก้าวหน้าของตนเองเป็นส่วนใหญ่
วัยเด็ก
ลักษณะซุกซน ไม่อยู่นิ่งเฉย ไม่มีความอดทนที่จะฟังเรื่องได้นาน ๆ เบื่อง่าย ชอบเรื่องสนุกสนาน ตลกขบขัน ชอบเล่น ฯลฯ
วัยชรา
เป็นวัยที่ผ่านประสบการณ์มามาก ชอบยึดถือสิ่งที่เป็นที่พึ่งทางจิตใจเป็นคุณธรรม เป็นผู้ที่ชอบคิดและมุ่งหวังที่จะเห็นความเจริญก้าวหน้าของครอบครัววงศ์ตระกูล
3.1.1 จำนวนของผู้ฟัง
3.1.4 ระดับการศึกษา
3.1.6 ศาสนาและความเชื่อ
3.1.5 อาชีพ
3.1.7 สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ
3.2 การวิเคราะห์ความยึดมั่น และทัศนคติของผู้ฟัง
ต้องศึกษาให้ชดัเจนว่า ผู้ฟังมีลักษณะของการยึดมั่นในความเชื่อทางใดเพื่อจะได้หลีกเลี่ยงการพูดที่จะเป็นการขัดแย้งกับความยึดมั่นของผู้ฟัง
3.3 การวเิคราะห์ทัศนคติของผู้ฟังต่อการพูด
3.3.1 ทัศนคติต่อผู้นำเสนอ
ความเป็นคนดีน่านิยมยกย่อง
ความรู้ความสามารถและความชำนาญของผู้นำเสนอ
ความน่าเชื่อถือไว้วางใจ คือผู้นำเสนอน่าไว้วางใจ
ความเป็นคนทันสมัย คือเป็นคนที่ทันเหตุการณ์
ความกระฉับกระเฉง กล้าพูด และมั่นคง
ความเป็นมิตรและเชื่อมั่น
3.3.2 ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่นำเสนอ
3.3.3 ทัศนคติที่มีต่อจุดมุ่งหมายในการนำเสนอ
กลุ่มผู้ฟังคือใคร
ความสำคัญในการวิเคราะห์กลุ่มผ้ฟูัง
พิจารณาถึงเวลาที่ใช้ในการนำเสนอ
ความรู้ในเรื่องที่จะนำเสนอ
เลือกหัวข้อที่ตนสนใจ
ควรร่างหัวข้อขึ้นมาจำนวนหนึ่ง ไม่จำเป็นต้องเป็นเขียนชื่อหัวข้อให้ตรงตามที่จะนำเสนอแบบเต็มประโยค อาจจะเป็นการเขียนเพียงคำ หรือ วลีสั้น ๆ เพียงให้ทราบว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร
ประโยชน์ของการวิเคราะห์ผู้ฟัง
เพื่อการวางแผนและกลยุทธ์ในการนำเสนอ
พิจารณาถึงเวลาที่ใช้ในการนำเสนอ
เพื่อทราบคุณลักษณะของผู้ฟัง
ความรู้ในเรื่องที่จะนำเสนอ