Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ ความรับผิดกระทำละเมิดด้วยตัวเ…
กฎหมายละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้
ความรับผิดกระทำละเมิดด้วยตัวเอง
ความหมายของการกระความทำ ถือเป็นการละเมิดได้นั้นต้องเป็นการกระทำของมนุษย์
การกระทำ คือ การเคลื่อนไหวของบุคคลโดยรู้สึกในความเคลื่อนไหวของตน
จงใจ คือ การรู้สำนึก คือต้องรู้สำนึก ร่วมกับการเคลื่อนไหว
ที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
ex. เด็กที่ไร้เดียงสา ย่อมไม่รู้ว่าทำอะไรลงไป
เช่นนอนอยู่อาจจะดิ้นไปโดนหน้าแม่
มาตรา 420 ผู้ใดซึ่งเป็นบุคคล จงใจหรือประมาทเลินเล่อ คือการไม่จงใจ
แต่ใช้ความระมัดระวังตามสมควร ส่วนจงใจคือการกระทำโดยรู้สำนึกผลเสียที่จะเกิดจากการกระทำของตน
มาตรา 421 การใช้สิทธิ ใช้สิทธิความยินยอมไม่ทำให้เป็นละเมิด
มาตรา 8 และมาตรา 9 จะว่าด้วยสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
อันมิชอบด้วยกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา
421 คือ โดยผิดกฎหมายตามมาตรา
420 กฎหมายไม่ได้ห้ามแต่เกิดความเสียหาย
421 สิทธิ คืออำนาจหรือประโยชน์ที่กฎหมายคุ้มครองให้
การกระทำโดยผิดกฎหมายมีความหมาย กว้าง มิใช่หมายแต่เพียงฝ่าฝืนกฎหมายที่บัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง
แต่หมายรวมถึงการกระทำโดยไม่มีสิทธิหรือข้อแก้ตัวตามกฎหมาย
ความยินยอมไม่ให้ทำละเมิด ยังมีข้อแก้ตัวบางอย่างซึ่งทำให้ผู้กระทำไม่ต้องรับผิดฐานละเมิดเพราะไม่เป็นการกระทำโดยผิดกฎหมาย
ความเสียหายอันเป็นผลมาจากการกระทำความเสียหายนั้น ตามกฎหมายไทยเห็นว่าควรใช้ทฤษฎีความเท่ากันแห่งเหตุหรือทฤษฎีเงื่อนไขบังคับ
ละเมิดโดยการหมิ่นประมาท คือ การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อคามจริงก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลลอื่น
มาตรา 423 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยความรับผิดในการกระทำของตนอีกลักษณะหนึ่ง
ที่เป็นการกระทำต่อบุคคลอื่นให้เขาเสียหายในสิทธิ
ex.ห้างหุ้นส่วนยังไม่เลิกกัน จำเลยซึ่งเป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งประกาศว่าเลิกกันแล้วยทำให้โจทก์ซึ่งเป็นหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งเสียหาย
จำเลยต้องรับผิดตามมาตรา
423
ความเสียหายนั้นเป็นผลมาจากการกระทำของผู้ทำความเสียหาย
เรียกว่าความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล หรือความผิดกับความเสียหาย
ไม่มีหลักแน่นอนที่จะปรับแก่กรณีต่างๆ เป็นปัญหาทางธรรมชาติหรือข้อเท็จจริง
แต่ผลบางอย่างอันสืบเนื่องมาจากการกระทำของผู้ก่อความเสียหาย
การกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น
เป็นลักษณะละเมิดที่ต้องมีความเสียหายเกิดขึ้น
หากยังไม่เกิดความเสียหายไม่ถือเป็นละเมิด
ความเสียหายที่เกิดหลังรู้สำนึกในความเสียหายในการทำละเมิดโดยจงใจจะต้องแยกพิจารณา
มีความเสียหายต่อสิทธิ ถือว่าความเสียหายอาจไม่ตรงกับความคิดเห็น
การทำร้ายร่างกายหรือลักทรัพย์ถือเป็นความเสียหาย
ex.นายแดงใส่รองเท้าที่พื้นยังสะอาดเตะนายดำ
ถีงจะไม่มีการเปรอะเปื้อแต่ถือเป็นการทำลายร่างกาย
ลักษณะแห่งสิทธิ
ตามบทบัญญัติมาตรา420 ที่กล่าวถึงชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หมายถึง สิ่งต่างๆเหล่านี้ย่อมเป็นวัตถุแห่งสิทธิ
ซึ่งไม่หมายเฉพาะสิ่งที่เป็นตัวตน
สิทธิ คือประโยชน์ที่บุคคลมีอยู่และบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพ
ความเสียหายที่คำนวณเป็นตัเงินได้และไม่อาจคำนวณเป็นตัวเงินได้
ความเสียหายที่เป็นความรับผิดทางละเมิดอาจเป็นความเสียหายที่คำนวณเป็นเงินหรือ ไม่อาจคำนวณเป็นเงินได้ก็ได้
แต่เมื่อเกิดความเสียหาย กรณีที่มีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องเยียวยาในความเสียหายกันภายหลัง
ex.แดงชกต่อยกับดำ แดงไม่บาดเจ็บแต่ดำบาดเจ็บต้องเข้ารับการรักษา
เป็นความเสียหายที่ประเมินค่าไม่ได้
การร่วมกันทำละเมิด คือการมีเจตนาร่วมกัน
ลักษณะการร่วมกันกระทำละเมิด ต้องเป็นการกระทำที่มีเจตนาหรือความมุ่งหมายร่วมกัน
ex.เขียวและขาวคบคิดกันจะฆ่า แดง โดยตกลงกันจะใช้ปืนยิงแดง ย่อมถือว่าเขียวและขาวมีเจตนาหรืความมุ่งหมายร่วมกันแต่ก็ยังถือไม่ได้ว่ามีการกระทำร่วมกัน
ความรับผิดระหว่างผู้ร่วมกันทำละเมิด ร่วมกันกระทำละเมิดแม้ความผิดขะมากหรือน้อย
แต่ทุกคนต้องรับผิดร่วมกันในผลแห่งการละเมิดนั้นเต็มจำนวนความเสียหาย
ตามมาตรา 432 อาจจะเข้าใจไๆด้ว่าเป็นบทบัญญัติว่าด้วยความรับผิดในการกระทำของบุคคลอื่นเช่นเดียวกับมาตรา
425,429และ 430 ซึ่งความจริงไม่ใช่
การร่วมกันทำละเมิดย่อมเป็นความรับผิดในการกระทำของตนเองตามกฎเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา
420
การพิพากษาคดี มาตรา 424 หมายความตามบทบัญญัติในมาตรานี้หมายความว่าบุคคลถูกฟ้องทั้งคดีส่วนแพ่งและคดีส่วนอาญาในเรื่องเดียวกันการพิพากษาคดีส่วนแพ่งนั้น ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปราฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญา
ผู้ใด หมายถึงบุคคลทุกชนิด