Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมความพร้อมก่อนการนำเสนอ - Coggle Diagram
การเตรียมความพร้อมก่อนการนำเสนอ
ขั้นการค้นคว้ารวบรวมเรื่อง
การสนทนา
การสัมภาษณ์
การอ่านหนังสือ
หนังสือเกี่ยวกับลัทธิ ประเพณี ความเชื่อ
หนังสือประเภทวรรณคดี
หนังสือประเภทวิชาการ(Text)
หนังสือที่รวบรวมสุนทรพจน์ คำปราศรัย ปาฐกถา
หนังสือพิมพ์ทุกชนิด
จากประสบการณ์ของผู้นำเสนอเอง
ขั้นการจัดเนื้อเรื่อง (The Structure of Speech)
เนื้อเรื่อง
(Main Body)
การลำดับเรื่องด้วยการแบ่งออกเป็นหมวดหมู่
การลำดับเรื่องด้วยเหตุและผล
การลำดับเรื่องด้วยการให้คำจำกัดความ
การลำดับเรื่องด้วยการแก้ปัญหาโดยการใช้ทฤษฎี หรือกฎ หรือวิธีทางวิทยาศาสตร์
การลำดับเรื่องด้วยการกล่าวถึงสถานที่
การลำดับเรื่องตามความสำคัญของเนื้อเรื่อง
การดำเนินเรื่องด้วยการลำดับตามเวลา วัน เดือน ปี
1.2 การลำดับเหตุการณ์แบบย้อนต้น (Flash-back)
1.1 แบบลำดับเวลาในทางกลับกัน
การสรุป หรือการจบเรื่อง
(Conclusion)
สรุปด้วยการย้ำหรือย่อแนวของเรื่อง
สรุปด้วยการวิงวอน หรือขอร้อง หรือชักจูงใจ
สรุปด้วยสุภาษิต คำพังเพย คำคม หรือคติพจน์
สรุปด้วยการถามผู้ฟัง(ผู้อ่าน) เกี่ยวกับข้อคิดเห็น
คำนำ
(Introduction)
:check: ลักษณะของคำนำที่ดี
ดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง
เรียกร้อง ชังจูง โน้มนำความสนใจของผู้ฟังให้ฟังเนื้อเรื่องต่อจนจบ
รูปแบบของคำนำที่ใช้ในการนำเสนอ
:warning:ข้อพึงระวัง - ใช้ในการนำเสนอที่จะเป็นพิธีการไม่ได้
เช่น ในการเสนอเรื่องต่อที่ประชุม
ในรายงานต่อประธานในพิธีเปิด-ปิด
ขึ้นต้นด้วยการอ้างคา พังเพย สภุาษิต บทกวี หรือวาทะ
เช่น
“โบราณว่า สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น”
”หากสยามยังอยู่ยั้งยืนยง”
ขึ้นต้นให้สนุกสนาน
ยกเหตุการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นในห้องบรรยายขึ้นมาทกให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ขัน
ขึ้นต้นด้วยการตั้งคำถาม
เช่น
“ท่านเชื่อหรือไม่ว่าต้นไม้พูดได้”
”ท่านเคยได้ยินเรื่องวัวเลี้ยงคนบ้างไหม”
ขึ้นต้นให้สะเทือนใจ
เช่น
ในการบรรยายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อาจยกตัวอย่างความโหดรา้ยของภัยพิบัติต่างๆ
ขึ้นต้นแบบพาดหัวข่าว
เช่น
“รวยหลังมาชม...”
ขึ้นต้นด้วยความสำคัญของเรื่อง
เช่น
ในการบรรยายสรุปกิจการของสถานพัฒนาสุขภาพ อาจเกริ่นว่า
“สมาชิกทราบดีว่า เหตุใดบางคนแก่เกินวัย แต่บางคนหนุ่มสาวกว่าวัย”
ขึ้นต้นด้วยการทำให้ผู้ฟังสงสัย
เช่น
“ผมไม่คิดมาก่อนเลยว่าวัวจะเลี้ยงคนได้”
”คนเลี้ยงวัว ไม่เป็นข่าว แต่วัวเลี้ยงคน นี่สิเป็นข่าว”
:red_cross: ข้อควรระวังในการเกริ่นนำ
อย่าขออภัย
เช่น
“การบรรยายเรื่องนี้ หากผิดพลาดขาดตกบกพร่องบ้าง ก็โปรดอภัยด้วย”
อย่าถ่อมตัว
เช่น
“ผมไม่มีความรู้ในเรื่องนี้มากนัก”
อย่าออกตัว
เช่น
“ผมไม่ได้เตรียมตัวมา เพราะได้รับเชิญกะทันหัน”
อย่าอ้อมค้อม
เช่น
อย่าพูดวกวนแบบ “ยกแม่น้ำาทั้งห้า”
การเขียนต้นฉบับ
เขียนเนื้อเรื่องทั้งหมดลงบนกระดาษ (คำปฏิสันถาร คำนำ เนื้อเรื่องและบทสรุป) หลังจากนั้นให้อ่านทบทวนประมาณ 3-4 ครั้ง เพื่อเนื้อหาที่ครอบคลุม รัดกุม
คำปฏิสันถารกับผู้ฟัง
(Greeting the Audience)
เป็นพิธีการ
เช่น
“เคารพ” “นับถือ” “ที่รัก” “ท่านประธาน และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน” ฯลฯ
ไม่เป็นพิธีการ
เช่น
“สวัสดีพี่น้องชาวไทยที่รักทั้งหลาย” “เพื่อนนักศึกษาที่รักทั้งหลาย” ฯลฯ
ขั้นวิเคราะห์เรื่อง
การตั้งจุดมุ่งหมาย
เป็นการตั้งจุดมุ่งหมายของเรื่องว่าต้องการจะกล่าวถึงอะไรบ้าง
การวางโครงเรื่อง
คือการลำดับเรื่องราวที่จะนำเสนอ
ทั้งการพูดและการเขียนทำให้เนื้อเรื่องเป็นระเบียบ ไม่สับสน
โดยยึดจุดมุ่งหมายและขอบข่ายของเรื่องเป็นสำคัญ
รูปแบบของโครงเรื่อง
1.3 โครงเรื่องแบบประโยค
เขียนด้วยข้อความซึ่งเป็นประโยคที่สมบูรณ์และชัดเจน มีเลขหรืออักษรย่อกำกับที่เป็นประเด็นของเรื่องนั้น
1.1 โครงเรื่องแบบไม่มีพิธีรีตอง
เขียนอย่างคร่าวๆโดยใช้คำหรือวลีเพื่อกำหนดแนวเรื่องที่สั้น ๆ
1.4 โครงเรื่องแบบหัวข้อ
เขียนด้วยคำสั้นๆ หรือวลีที่ไม่ได้มีความหมายครบถ้วนในตัวเอง และมีตัวเลขหรืออักษรย่อกำกับประเด็นทุกประเด็น
1.2 โครงเรื่องแบบย่อหน้า
ประกอบด้วยกลุ่มประโยคหลายประโยครวมกันในรูปแบบย่อหน้า โดยไม่ต้องแยกเป็นหัวข้อลงในบรรทัดใหม่
ขั้นตอนในการเขียนโครงเรื่อง
2.1 ขั้นรวบรวมข้อมูลและความคิด
2.2 ขั้นจัดกลุ่มข้อมูล
2.3 ขั้นจัดลำดับข้อมูล
ประโยชน์ของการเขียนโครงเรื่อง
3.1 ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีที่จะนำเสนอเนื้อหา
3.2 ช่วยให้ตัดสินใจในการเตรียมเนื้อหาได้อย่างเพียงพอ
3.3 ช่วยในการวางสัดส่วนของเรื่องได้เหมาะสม
3.4 ช่วยให้นำเสนอเรื่องอย่างมีเหตุผล
การกำหนดหัวข้อเรื่อง (Topic)
ควรกำหนดหัวข้อหรือเลือกหัวข้อที่สามารถจำกัดขอบเขตได้