Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(Urinary Tract Infections; UTI) - Coggle Diagram
(Urinary Tract Infections; UTI)
พยาธิสรีรวิทยาของการเกิดโรค
เชื้อจุลชีพเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
จะเกาะติดกับผนังเยื่อบุเซลล์
แบ่งตัว เจริญเติบโต ทำให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อ
เกิดการระคายเคืองการอักเสบต่อไปทำให้กระเพาะปัสสาวะยืดขยาย
ทำให้ปัสสาวะบ่อยกลั้นไม่ได้
หากเชื้อผ่านจากกระเพาะปัสสาวะเข้าสู่ท่อไต จะเกาะติดกับผนังท่อไต
ปล่อยสารที่ออกฤทธิ์ต่อ
กล้ามเนื้อเรียบของท่อไต ทำให้ท่อไตขยายตัว และเกิดการอุดตัน(physiologic obstruction)
ทำให้เกิดเนื้อไตและกรวยไตอักเสบ(pyelonephritis)
1 more item...
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
มีโรคประจำตัว VUR gr. Iv vesicoureteral reflux ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ มีประวัติการแพ้ยา ยาที่กินจะมีการผื่นขึ้น (ไม่ระบุยาที่แพ้)
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
เคยมีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ มารักษาที่โรงพบยาบาลหลายครั้ง และครั้งนี้ 4 วันก่อนมา รพ.มีอาการปวดปัสสาวะบ่อย แสบขัด และ 1 วันก่อนมา มีไข้ ปวดขณะถ่ายปัสสาวะและปัสสาวะบ่อย มารดาจึงพามารพ.
อาการสำคัญ
มีไข้ ปัสสาวะแสบขัด 1 วันก่อนมารพ.
การวินิจฉัยโรคแรกรับ
VUR gr. IV. vesicoureteral reflux
การวินิจฉัยโรคปัจจุบัน
UTI and VUR gr. IV. vesicoureteral reflux
อาการปัจจุบัน
เด็กหญิงไทยอายุ 7 ปี รู้สึกตัวดี มีท่าทางสีหน้ายิ้มแย้มสามารถถาม-ตอบได้ ปัสสาวะแสบขัด สีน้ำปัสสาวะมีสีเหลือง ขุ่นเล็กน้อย รับประทานอาหารได้ปกติ แต่ดื่มน้ำได้น้อย นอนหลับปกติ การขับถ่ายอุจาระปกติ ปกติ อารมณ์ดีร่าเริงให้ความร่วมมือดีสัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37.6 องศาเซลเซียส ชีพจร 86 ครั้ง/นาที หายใจ22 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต 94/60 มม.ปรอท
ข้อวินิฉัยการพยาบาล
1.มีโอกาสติดเชื้อซ้ำเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตน
การพยาบาล
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
1.1 แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากกว่า 8 แก้ว ต่อวัน
1.2 หลีกเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะควรถ่ายปัสสาวะทุก
1.3 ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณอวัยวะขับถ่ายหลังถ่ายปัสสาวะทุกครั้ง
1.4 สังเกตสีจำนวนลักษณะและกลิ่นของปัสสาวะที่ออกมา
1.5 มาตรวจตามนัด
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลตนเองน้อย
O : ผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะโดยมีค่า Lab WBC 50-100 Cell/HPF
O:โรคประจำตัว VUR gr. Iv vesicoureteral reflux
2.เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเพิ่ม เนื่องจากการมีปัสสาวะไหลย้อน VUR
การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับน้ำมากขึ้นเพื่อให้ปัสสาวะเจือจางและขับเชื้อโรค
2.กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะทุก 2-3 ชม.ห้ามกลั้นปัสสาวะ
3.ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์อย่างถูกวิธี กรณีใส่สายสวนปัสสาวะต้องป้องกันการคั่งค้างของปัสสาวะด้วย
4.สังเกตลักษณะของน้ำปัสสาวะ ปริมาณ อาการขณะถ่ายปัสสาวะ 5.ติดตามผลการตรวจปัสสาวะต่าง ๆ
6.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชม.
7.ดูแลให้รับยาปฏิชีวนะCefotaxime 500mg ฉีดทุก 6 ชั่วโมง เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เเละติดตามผลข้างเคียงมีผื่นคัน ท้องเสีย คลื่นไส้ ปวดบริเวณที่ปวด เป็นต้น
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลตนเองน้อย
O : ผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะโดยมีค่า Lab WBC 50-100 Cell/HPF
O:โรคประจำตัว VUR gr. Iv vesicoureteral reflux
1.มีไข้เนื่องจากมีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ข้อมูลสนับสนุน
O : มีไข้ 1 วันก่อนมารพ.
O: อุณหภูมิ 37.6 องศาเซลเซียส
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพและอุณหภูมิกายทุก 4 ชั่วโมง และอาการแสดงอื่น ๆ เช่น ตัวร้อน หน้าแดง มึนงง สับสน กระสับกระส่าย และร้องกวน เป็นต้น
2.กระตุ้นให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพออย่างน้อย 3000/วัน
เช็ดตัวลดไข้ ด้วยน้ำอุณหภูมิห้อง นาน 15 - 20 นาที และต้องระมัดระวังไม่ให้เด็กมีอาการหนาวสั่น (shivering) เพราะจะเพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย และหลอดเลือดหดตัว (vasoconstriction)ความร้อนจึงไม่สามารถระบายออกจากร่างกายได้
4.สวมเสื้อผ้าที่บาง ไม่ห่มผ้าหากเด็กไม่มีอาการหนาวสั่น เพื่อระบายความร้อนออกจากร่างกาย
5.ดูแลให้ได้รับยาลดไข้ตามแผนการรักษาของแพทย์ ดังนี้ Prostaglandins(Sara) 120mg ทุก6 ชั่วโมงและทุกเวลาปวด และติดตามผลข้างเคียงเช่น ง่วงซึม อ่อนเพลีย เป็นต้น
6.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการค่า Urine analysis
อาการเเละอาการเเสดง
มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะขุ่น เจ็บบั้นเอวด้านหลัง (costovertebral angle tenderness)
กรณีศึกษา
มีไข้ ปัสสาวะเเสบขัด ปวดขณะปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ตรวจ Urine analysis
Uncentrifuged urine
– cc
Color
yellow
Appear
turbid
pH
5.5
Specific gravity
Negative
Sugar
Negative
Ketone
1+
2 more items...
ปกติ
ปกติ
ปกติ
ค่า pH 5.5 - 6.5
ผิดปกติ
เนื่องจากมี White blood cell ปนออกมาจากการป้องกันการติดเชื้อ
ปกติ
สาเหตุ
1.เกิดจากการติดเชื้อ
เช่น เชื้อที่พบบ่อยที่สุดคือ Escherichia Coli ร้อยละ 75-90 รองลงมาได้แก่ Klebsiella spp.และ Proteus spp. บางรายงานพบว่า ในเพศชายที่อายุน้อยกว่า 1 ปี เชื้อ Proteus spp. พบได้เท่าๆกับ Ecoli ส่วนเชื้อ Staphylococcus saprophyticus และ Enterococus spp. พบได้ทั้งเพศหญิงและเพศชาย
2.ปัจจัยเสี่ยง
1. ความผิดปกติทางกายวิภาค (anatomical abnormality)
ของทางเดินปัสสาวะที่ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น vesicoureteral reflux (VUR) พบได้ถึงร้อยละ 20-35 ของผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะครั้งแรก posterior urethral valve (PUV) obstruction, ureteropelvic junction (UPJ)
obstruction, ureterocele, uerterovesical junction (UVJ) obstruction, bladder diverticulum
2. ความผิดปกติจากการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ (bladder dysfunction)
ทำให้ปัสสาวะยังคงค้างในกระเพาะปัสสาวะปริมาณมากหลังจากที่ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะแล้ว เช่น neurogenic bladder,uncoordinated relaxation of the urethral sphincter during voiding, infrequent voiding
3.ปัจจัยอื่นๆ
เช่น phimosis, labial synechia, pin worm, constipation, encropresis การทำ ความสะอาดจากด้านหลัง perineum มาทางด้านหน้า perineum เป็นต้น