Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Pyelonephritis - Coggle Diagram
Acute Pyelonephritis
ข้อมูลทั่วไป
-
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน :
3 วัน ก่อนมา มีอาการไข้สูง หนาวสั่น มารับการรักษาที่โรงพยาบาลพระพุทธบาท ได้รับยา Paracetamol และ เกลือแร่ กลับไปรับประทานที่บ้าน
5 ชั่วโมงก่อนมาอาการไม่ขึ้น มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ร้องไห้บ่นแสบขณะปัสสาวะ จึงมารับการรักษาที่โรงพยาบาล แพทย์จึงให้นอนพักรักษาตัวที่ หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 4
-
-
-
อาการและอาการแสดง
-
-
-
การตรวจเลือด CBC จะพบเม็ดเลือดขาวเยอะกว่าปกติ ตรวจปัสสาวะมีลักษณะขุ่น มีเม็ดเลือดขาวและแบคทีเรียในปัสสาวะและเม้ดลือดแดงในปัสสาวะร่วมด้วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- มีการอักเสบที่กรวยไตเนื่องจากมีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน
เกณฑ์การประเมิน
- ไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ ได้แก่ มีไข้สูงร่วมกับหนาวสั่น มีชีพจรเต้นเร็ว
- ลักษณะปัสสาวะปกติ ได้แก่ สีเหลืองใส ไม่มีตะกอนหรือเลือดปน
-
- ไม่พบเชื้อจากการเพราะเชื้อจากปัสสาวะ
-
กิจกรรมทางการพยาบาล
- วัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลงของการติดเชื้อ
- ดูแลให้ได้รับ Ceftriaxone 1 gm IV OD ตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียง ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
- ติดตามผลการตรวจค่าการวิเคราะห์ปัสสาวะ การเพาะเชื้อจากปัสสาวะ เพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลง
- ให้คำแนะนำในการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ที่ถูกวิธี เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อแพร่กระจายสู่ท่อปัสสาวะ
- บันทึกปริมาณ และสังเกตลักษณะสี กลิ่นปัสสาวะ เพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลง
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำวันละ 1,500 – 2,000 มิลลิลิตร เพื่อทำให้ปัสสาวะเจือจางลงและเป็นการขับเชื้อออกร่างกาย
ข้อมูลสนับสนุน
-
O : WBC = Count 12,960 Cell/mm3
Neutrophils = 92 %
Basophils = 2 %
UA = Color yellow
Appearance = Turbid
WBC = 5-10 Cell/HP
RBC = 10-20 Cell/HPF
Bacteria = Few
- มีความไม่สบายเนื่องจากมีอาการไข้สูง มีอาการเจ็บปวดขณะปัสสาวะ
กิจกรรมทางการพยาบาล
- กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากปริมาณ 1,500-2,000 มิลลิลิตร/วัน เพื่อระบายความร้อน และช่วยทำให้ปัสสาวะได้สะดวกขึ้น
- จัดสิ่งแวดล้อมให้มีอาการถ่ายเทสะดวก ไม่ร้อนหรือเย็นจนเกินไป เให้สุขสบาย พักผ่อนได้
- ดูแลให้ได้รับยา Paracetamol (500mg) 1/2 tap po prn q 6 hr ตามแผนการรักษา
- ถ้า pain score คะแนนมากกว่า 7 ให้รายงานแพทย์ทันที
- เช็ดตัวเพื่อลดไข้ (tepid sponge) และวัดไข้หลังทำ 1/2 ชั่วโมง
- ถ้าปวดบริเวณท้องน้อย ปวดถ่วงๆ ให้นั่งแช่ในน้ำอุ่น (warm sitz bath) นาน 15 นาที วันละ 3-4 ครั้ง เพื่อลดอาการเจ็บปวด
เกณฑ์การประเมิน
- ไม่มีไข้ อุณหภูมิกายต่ำกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
-
-
-
- มีโอกาสเกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะซ้ำ เนื่องจากมีพฤติกรรมเสี่ยง หรือพร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
จุดมุ่งหมาย
-
- ผู้ป่วย และหรือญาติมีความรู้ในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
-
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยและญาติยังขาดความรู้และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
: 3 วันก่อนมา มีอาการไข้สูง หนาวสั่น มารพ.ได้ยาไปรับประทาน แต่ไม่ดีขึ้นจึงกลับมา รพ.
กิจกรรมทางการพยาบาล
- ไม่ควรกลั้นปัสสาวะให้ถ่ายทุกครั้งที่รู้สึกปวดหรืออย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง และแนะนำให้ถ่ายปัสสาวะจนหมดโดยให้ปัสสาวะซ้ำหลังจากปัสสาวะครั้งแรก 2-3 นาที เพื่อไม่ให้มีปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะ
- หากมีอาการถ่ายปัสสาวะบ่อย ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ควรรีบพบแพทย์ทันที เพื่อติดตามผลการรักษา
- รับประทานยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาอย่างสม่ำเสมอ ไม่ควรหยุดยาเอง แม้ว่าจะไม่มีอาการแล้วก็ตาม เพราะหากหยุดยาเองอาจทำให้กลับเป็นซ้ำได้
- ระมัดระวังไม่ให้เด็กมีอาการท้องผูกโดยดื่มน้ำ และรับประทานผักผลไม้อย่างเพียงพอ นอกจากนั้นควรหลีกเลี่ยงการกลั้นอุจจาระ ฝึกให้ถ่ายอุจจาระเป็นเวลา เพราะหากท้องผูกจะเป็นเหตุส่งเสริมให้ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
- สอนวิธีการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ที่ถูกต้อง คือ ในเด็กหญิงให้ล้างจากข้างหน้าไปข้างหลังไม่ยัอนไปมา เพื่อป้องกันการนำเชื้อจากทวารหนักเข้าสู่ห่อปัสสาวะ และในเด็กชายให้รูดบริเวณหนังหุ้มปลายองคชาติให้เปิดออก แล้วทำความสะอาดทุกวัน
- หากเด็กมีอาการคันบริเวณทวารหนัก อาจบ่งชี้ว่ามีพยาธิ ควรปรึกษาแพทย์ เพราะพยาธิลุกลามสู่ทางเดินปัสสาวะ
- ให้ดื่มน้ำมากๆ วันละ 1,500 – 2,000 มิลลิลิตร โดยสามารถปรับเปลี่ยนเป็นน้ำผลไม้ หรือน้ำหวานได้ เพื่อช่วยให้ร่างกายขับเชื้อโรคที่อยู่ในทางเดินปัสสาวะออกได้ดีขึ้น
สาเหตุ
- เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบ ได้แก่ E.coli
- ห้องน้ำสาธารณะไม่สะอาด เสี่ยงต่อการปนเปื้อน โรคได้ง่าย
-
-
ความหมาย
โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน หรือ กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute pyelonephritis) หมายถึง มีการติดเชื้อทีไตแบบเฉียบพลัน เชื้อแบคทีเรียที่พบบ่อยคือ เชื้อ Escherichia Coli มีพยาธิสภาพเกิดขึ้นที่บริเวณเนื้อไต แต่ไตยังทำงานได้ตามปกติ
การรักษา
กรวยใตอักเสบเฉียบพลัน (Acute pyelonephritis)ยาปฏิชีวนะเป็นสิ่งจำเป็นซึ่งควรให้ยาตามbacteria sensitive ให้โดยทันทีและมีการตรวจติดตามผลการตรวจปัสสาวะ (urine) ว่ายาที่ให้ได้ผลตามที่ต้องการ ร่วมกับการให้ยาจำพวกต้านการหดเกร็งของกระเพาะปัสสาวะ ให้รับประทานอาหารมีประโยชน์ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้สารน้ำอย่างเพียงพอ และกำจัดสาเหตุการอุคกั้นทางเดินปัสสาวะหากจำเป็นต้องทำผ่าตัดก็ควรทำ
ภาวะแทรกซ้อน
ถ้าไม่ได้รับการรักษา เชื้ออาจลุกลามเข้ากระเสเลือดกลายเป็นติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งอาจเป็นอันตรายร้ายแรงได้ ในบางรายอาจกลายเป็นโรคกรวยไตอักเสบเรื้อรังและภาวะไตวาย