Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมโภชนาการในเด็ก - Coggle Diagram
การส่งเสริมโภชนาการในเด็ก
ความหมาย
โภชนาการ
อาหารที่เข้าสู่ร่างกายแล้วนํามาใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโต การค้ําจุน และการซ่อมแซม
โภชนาการในเด็ก
อาหารที่เหมาะสมในแต่ละวัยที่ส่งผลให้มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการอวัยวะต่างๆ ทั้งด้านหน้าที่ และส่วนประกอบเพื่อให้ทํางานได้ตามปกติ
ปัจจัยและสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
1) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ-สังคม
2) ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
3) ปัจจัยทางชีวภาพ
ความต้องการสารอาหารในเด็กแต่ละวัย
วัยทารก
1) พลังงาน
เนื่องจากพื้นที่ผิวกายมาก ทําให้สูญเสียความร้อนสูง มีอัตราเมตาบอลิซึมสูง
โดยปกติทารกต้องการพลังงาน 100 กิโล
แคลอรี/กิโลกรัม/วัน
น้ำนมแม่ มีไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตปานกลาง
น้ำนมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน
ทารกต้องการพลังงานมากกว่าผู้ใหญ่ 2-3 เท่า
2) โปรตีน
การขาดโปรตีนทําให้เติบโตช้า
ความต้องการโปรตีนในทารกสูงกว่าในช่วงชีวิตวัยอื่นๆ
โปรตีนในน้ำนมแม่ ย่อยดูดซึมได้ง่าย มีภูมิคุ้มกันชนิด alpha-lactabumin
ไม่มี beta-lactoglobulin ทําให้ทารกไม่เกิดโรคภูมิแพ้
3) คาร์โบไฮเดรตและไขมัน
คาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งให้พลังงาน
ไขมันเป็นแหล่งพลังงานและสําคัญสําหรับการพัฒนาระบบประสาทส่วนกลาง และเก็บสะสมไขมันในร่างกาย
4) น้ํา
น้ำในร่างกายทารกประมาณร้อยละ 75 – 80 ของน้ำหนักตัว
ทารกต้องการน้ำ 150 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/วัน
ทารกอายุแรกเกิด - 6 เดือน ไม่จําเป็นต้องได้รับน้ำเสริม
5) วิตามินและเกลือแร่
วิตามินดี : ดูดซึมแคลเซียมและสร้างกระดูก
วิตามินเค : สร้าง prothrombin ช่วยให้เลือดแข็งตัว
วิตามินบี 12 : การแบ่งตัวของเซลล์ การทำงานของโฟเลต
เหล็ก : ถ้าขาดอาจซีดได้
ฟลูออไรด์ : สร้างฟัน
นมผสม
1) นมผสมสูตรมาตรฐาน (Infant formula; IF)
มีพลังงาน 20 กิโลแคลอรี/ออนซ์
2) นมผสมสูตรสําหรับทารกคลอดก่อนกําหนด (Premature formula; PF)
มีพลังงาน 24 กิโลแคลอรี/ออนซ์
3) นมผสมสูตรต่อเนื่อง
สําหรับทารกอายุ 6 เดือนขึ้นไป ถึง 3 ปี
ความต้องการพลังงาน
Newborn 100 – 120 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม/วัน
Preterm 120 – 150 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม/วัน
เด็กและวัยรุ่น
1) พลังงานและโปรตีน
ในเด็ก ใช้สูตร Holliday & Sagar
10 กิโลกรัมแรก = 100 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม/วัน
10 กิโลกรัมแรก = 50 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม/วัน
น้ำหนักที่เหลือ = 20-30 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม/วัน
2) วิตามินและเกลือแร่
วิตามินและเกลือแร่ที่สําคัญคือ เหล็ก
วัยรุ่นต้องการวิตามินและเกลือแร่
มากกว่าทุกกลุ่มอายุ
วิตามินและเกลือแร่ที่ระมัดระวังคือ วิตามินเอ แคลเซียม และเหล็ก
3) คาร์โบไฮเดรต
ร้อยละ 55 – 65 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน
ไม่ควรเกินร้อยละ 25 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน
4) ไขมัน
อายุ 1 – 3 ปี ปริมาณร้อยละ 30 – 40 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน
อายุ 4 – 18 ปี ปริมาณร้อยละ 25 – 35 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ/อาหารเสริม
อาหารเสริม หมายถึง อาหารอื่นนอกจากนมที่ให้กับทารก เพื่อให้ทารกชินกับอาหารต่างๆ ฝึกการกลืนการเคี้ยวมากชึ้นใน 6 เดือนถึง 1 ปี
ทารกแรกเกิดจะมี extrusion reflex โดยการห่อปากเอาลิ้นดุนอาหารออกมา เมื่อทารกอายุ 4-5 จะหายไป สามารถตวัดลิ้นผลักอาหารลงสู่ลําคอกลืนอาหารครึ่งแข็งครึ่งเหลวได้
อาหารเด็กวัยก่อนเรียน
รสจืดๆ ไม่เปรี้ยวจัด เผ็ดจัด เค็มจัด
อาหารเด็กวัยเรียน
โปรตีน แคลเซียม เหล็ก ในปริมาณค่อนข้างสูงอาหารทะเล เพราะมีไอโอดีนพอสําหรับการทํางานของต่อมไทรอยด์
อาหารเด็กวัยรุ่น
แป้ง โปรตีน แคลเซียม นม ผลไม้ และผักใบเขียว เด็กผู้หญิงควรได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กผสมอยู่ด้วย เพราะวัยรุ่นหญิงจะเริ่มมีประจําเดือน
ปัญหาโภชนาการในเด็กและการดูแล
ภาวะขาดโปรตีนและพลังงาน (Protein energy malnutrition: PEM หรือ Protein –caloric malnutrition: PCM)
ภาวะที่ร่างกายได้รับโปรตีน และ/หรือ พลังงานไม่เพียงพอกับความต้องการ
นอกจากนี้ยังอาจใช้ Failure to
thrive (FTT) ในการสื่อความหมายถึง ภาวะทุพโภชนาการ
สาเหตุ
ทําให้ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทาน ย่อย และดูดซึม หรือใช้สารอาหารได้อย่างเต็มที่
ยากจน ขาดความรู้ ไม่มีเวลาเลี้ยงดู
อาการทางคลินิก
Marasmus
ขาด 3 อย่าง (คาร์โบ โปรตีน ไมัน) มักพบในเด็กเล็ก
สัมพันธ์กับการหย่านมแม่เร็วเกินไป
หนังหุ้มกระดูก กล้ามเนื้อลีบ เส้น
ผมจะเล็กบาง สีจางลง และหลุดง่าย
โรคแทรกซ้อน : การติดเชื้อ
ในทางเดินอาหาร ภาวะขาดน้ํา การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และขาดวิตามินเอ
Kwashiorkor
ขาดโปรตีน มักพบในเด็กโต
สัมพันธ์กับการหย่านมแม่ช้าเกินไป
บวมกดบุ๋มและไม่เจ็บ
ซึม เบื่ออาหาร ไม่สนใจสิ่งเร้า ตับโตจากไขมันแทรกในเนื้อตับ
น้ําหนักตัวจะลดไม่มากนักเนื่องจากบวม
Marasmic kawashiorkor
ขาดโปรตีนรุนแรงกว่า
อาการบวมคล้ายใน kawashiorkor
มีกล้ามเนื้อลีบผมร่วง น้ําหนักลดลงมาก
คล้าย marasmus
ภาวะขาดวิตามิน
ละลายในไขมัน
โรคขาดวิตามินเอ
สาเหตุ
การรับประทานอาหารที่มีวิตามินเอน้อย
การบริโภคไขมันต่ําหรือมีภาวะอุดกั้นของน้ําดีซึ่งจําเป็นสําหรับการย่อยไขมัน เนื่องจากการดูดซึม
ของวิตามินเอ ต้องเกิดพร้อมกับการดูดซึมไขมัน
อาการทางคลินิก
Night blindness ตาบอดกลางคืน
Xerophthalmia อาการเยื่อบุตาแห้ง
Follicular hyperkeratosis ผิวหนังแห้งและเป็นตุ่มนูน
อาการผิดปกติของช่องเยื่อบุต่างๆ
โรคขาดวิตามินดี/โรคกระดูกอ่อน (rickets)
สาเหตุ
รับประทานอาหารที่มีวิตามินดีน้อย
มีความผิดปกติเกี่ยวกับการย่อย และการดูดซึมไขมัน
มีความผิดปกติเกี่ยวกับการย่อย และการดูดซึมไขมัน
อาการทางคลินิก
อาการทางกระดูกมีขาโก่งออก (bowing) โก่งเข้า (knock-knee)
กระหม่อมหน้าจะปิดช้ากว่าปกติ/กะโหลกนิ่ม (craniotabes) ได้
ฟันขึ้นช้า หรือผุเร็ว
การเจริญเติบโตล่าช้า
โรคขาดวิตามินอี (tocopherol)
สาเหตุ
เนื่องทารกคลอดก่อนกําหนดมีวิตามินอีสะสมมาน้อย
ประกอบกับมีน้ําย่อย lipase และกรด
น้ําดี (bile acid) ต่ํา
ทําให้การดูดซึมไขมันไม่สมบูรณ์ จึงดูดซึมวิตามินอีน้อยลง
พบในทารกคลอดก่อนกําหนดที่เลี้ยงลูกด้วยนมผสม
อาการทางคลินิก
มีอาการโลหิตจางและเมื่อตรวจเลือดจะพบ hematocrit ต่ํา
เม็ดเลือดแดงแตกและเป็นหนาม (burr cell,
schistocyte)
และพบมีเกล็ดเลือดสูง (thrombocytosis)
โรคขาดวิตามินเค
สาเหตุ
Hemorrhagic disease of the newborn
วิตามินเคจากแม่ผ่านรกมายังเด็กได้ไม่ดี
Acquired prothrombin complex deficiency (APCD)
มีสาเหตุมาจากการที่ทารกดื่มนมแม่ที่มีวิตามินเค (แม่ทานอาหารที่มีวิตามินเคไม่เพียงพอ)
อาการทางคลินิก
Hemorrhagic disease of the newborn
อาการเลือดออกที่พบบ่อย คือ แผลตัดสายสะดือ ลําไส้และผิวหนัง
Acquired prothrombin complex deficiency (APCD)
อาการเลือดออกที่พบบ่อยที่สุด คือ กะโหลกศีรษะ โดยผู้ป่วยจะมีอาการซึม กระหม่อมตึง ซีด และบางครั้งจะมีอาการชักได้
ละลายในน้ำ
โรคขาดวิตามินบี 1 (thiamin)
สาเหตุ
การรับประทานบี 1 ไม่เพียงพอ
การรับประทานอาหารที่มีสารต้านฤทธิ์วิตามินบี 1
ภาวะที่มีการเพิ่มเมตาบอลิซึม
มีการดูดซึมวิตามินบี 1 ในลําไส้ลดลงจากเป็นโรคลําไส้เรื้อรัง
อาการทางคลินิก
โรคเหน็บชาในทารก
1.1 Aphonic form ทารกอาจมาด้วยอาการร้องเสียงแหบ
1.2 Cardiac หรือ acute fulminating form โดยจะมีอาการของภาวะหัวใจวาย คือ หอบ เหนื่อย หัวใจโต และเต้นเร็ว ตับโต
1.3 Pseudomeningitis form หรือ cerebral form ทารกจะมีอาการอาเจียน หนังตาตก
โรคเหน็บชาในวัยเด็ก
2.1 Dry beriberi ผู้ป่วยจะมีอาการชาตามมือและเท้าทั้ง 2 ข้าง กล้ามเนื้อแขนและขาอ่อนแรง
2.2 Wet beriberi ผู้ป่วยจะมีอาการบวมของแขนขา เมื่อเป็นมากขึ้นจะมีอาการหัวใจวาย
โรคขาดวิตามินบี 2
สาเหตุ
รับประทานไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
หรือเกิดจากการดูดซึมลดลงในภาวะที่ร่างกายเป็นโรคบางอย่าง เช่น lactose intolerance โรคมะเร็ง โรคมะเร็งลําไส้สั้น
อาการทางคลินิก
มีแผลที่มุมปาก ริมฝีปากแตก ลิ้นบวมแดง
โรคขาดวิตามินบี 6
สาเหตุ
ได้รับจากอาหารไม่เพียงพอ
ได้รับยาบางอย่าง เช่น isoniazid รักษาวัณโรค corticosteroid
โรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติในตัวเอนไซม์ที่ใช้วิตามินบี 6
อาการทางคลินิก
ในเด็กทารกจะเกิดอาการชัก น้ําหนักลด ปวดท้อง อาเจียน กระวนกระวาย
ในเด็กโตอาจพบอาการ seborrhic dermatitis, glossitis, stomatitis และ cheilosis
โรคขาดวิตามินโฟเลซีน
สาเหตุ
ได้รับจากอาหารไม่เพียงพอ หรือมีความผิดปกติเกี่ยวกับการดูดซึมจากลําไส้
ความต้องการเพิ่มขึ้น เช่น ในภาวะที่มีเม็ดเลือดแตกเรื้อรัง ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย
ได้รับยาบางชนิด เช่น ยากันชัก (phenytoin, primidone, phenobarbital)
อาการทางคลินิก
โรคโลหิตจางที่มีขนาดเม็ดเลือดแดงใหญ่กว่าปกติ
น้ําหนักไม่เพิ่ม และท้องเสียเรื้อรัง
โรคขาดวิตามินบี 12
สาเหตุ
ได้รับจากอาหารไม่เพียงพอพบมากในกลุ่มบริโภคอาหารมังสะวิรัติแบบเคร่งครัดซึ่งจะไม่รับประทานนมและไข่ เนื่องจากวิตามินบี 12 มีเฉพาะในสัตว์ ไม่มีในพืช
ขาด intrinsic factor ซึ่งจําเป็นสําหรับการดูดซึมที่ลําไส้ อาจเป็นโดยกําเนิดหรือเกิดภายหลังได้
โรคลําไส้สั้น (short bowel syndrome) หากถูกตัดหรือมีความผิดปกติบริเวณส่วน terminal
ileum ซึ่งเป็นตําแหน่งของการดูดซึมวิตามินบี 12 ของลําไส้
อาการทางคลินิก
โรคโลหิตจางที่มีขนาดเม็ดเลือดแดงใหญ่กว่าปกติ
ลิ้นอักเสบและอาการทางระบบประสาท ได้แก่ เดินเซ, ความรู้สึกเหมือนโดนของแหลมทิ่ม รู้สึกคัน เสียว หรือแสบร้อน
โรคขาดวิตามินซี
สาเหตุ
ไม่ได้รับประทานผักและผลไม้สด หรือรับประทานน้อย เป็นระยะเวลาติดต่อกันนานๆ
อาการทางคลินิก
ในเด็กเล็กมีอาการกระนกระวาย ร้องกวนตลอด เบื่ออาหารและปวดตามกระดูกแขนและขา
สําหรับเด็กโตจะพบมีจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง เหงือก ตาขาว และบริเวณขุมขน ผิวหนังจะหยาบแห้งและคัน