Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน กาญจนา ณ วิเชียร 62102301008 - Coggle…
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
กาญจนา ณ วิเชียร 62102301008
2.การเขียนโครงการ
แบบดั้งเดิม
ชื่อโครงการ
หลักการและเหตุผล
สภาพจริง/ปัญหา/ข้อมูลสนับสนุน//ไม่เกินหน้าครึ่ง
วัตถุประสงค์
ตามหลัก SMART // เพื่อ...
เป้าหมาย
สิ่งที่อยากให้เกิด /อาจมีเวลาแน่นอน
สถานที่ดำเนินงาน
วิธีดำเนินงาน
ระยะเวลา
งบประมาณ
การประเมินผล
ผู้รับผิดชอบโครงการ
11.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้เขียน ผู้เสนอ ผู้เห็นชอบ ผู้อนุมัติโครงการ
ผังกำกับงาน
การวางแผนงาน (Community planning)
วางแผนงานที่จะทำในอนาคตในวิธีที่ดีที่สุด ประหยัด เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อสุขภาพคนในชุมชน 4 ด้าน
ประเภทของแผน
1) แบ่งตามเวลา
ระยะยาว 5-10 ปี Ex. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ระยะปานกลาง 2-5 ปี อาศัยเค้าโครงจากระยะยาว Ex. แผนระดับกระทรวง
ระยะสั้น 2 ปีลงมา อาศัยเค้าโครงของระยะปานกลาง เอามากำหนดกิจกรรมครั้งเดียว Ex.แผนระดับท้องถิ่น
2) แบ่งโดยอาศัยการกระทำเป็นหลัก
แผนเพื่อทำซ้ำหรือถาวร
แผนทำครั้งๆเดียวไป
3) แบ่งตามพื้นที่
แผนชาติ เน้นเป็นแนวทาง นโยบาย
แผนภาค เน้นปฏิบัติ ยึดนโยบายเป็นกรอบ
แผนพื้นที่ แผนงาน เน้นกิจกรรมแก้ไขปัญหา
4) แบ่งตามลายลักษร์อักษร
ลักษณะของแผนงานอนมัยชุมชนที่ดี
ตามความจริง
ชัดเจน เข้าใจง่าย จูงใจให้เห็นแนวทาง
ปฏิบัติได้
ประหยัด
ใช้เวลาแน่นอน
แบ่งหน้าที่ชัด เหมาะสม
ประเมินได้
ยืดหยุ่น ปรับแก้ได้
สอดคล้องนโยบาย
การจัดทำ
แผนงานหลักหรือแผนแม่บท (master plan)
ปัญหาสาธารณสุข
วิเคราะห์ปัญหาและสภาวะที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
เป้าประสงค์แก้ปัญหา
กลวิธีทางสาธารณสุขแห้ปัญหา
สมบูรณ์สุด มักเป็นตาราง
ทรัพยากรที่จะใช้แก้ปัญหา
ประเมินผล
3.การจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาชุมชน
การดำเนินงานตามขั้นตอนที่เขียนไว้/บันทึกผลงาน/ยึดนโยบาย,ข้อมูล/จัดทำเป็นระบบ/ลำดับก่อนหลัง/ประเมินเป็นระยะ
หลักการพัฒนาชุมชน(10ข้อ)=คนเป็นศูนย์กลาง/พัฒนาพร้อมด้านอื่น/ปชช.มีส่วนร่วม/ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นเกิดประโยชน์สูงสุด/สอดคล้องแบบแผนชีวิต/เชิกรุกกว่าเชิงรับ/เน้นประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง/มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล/เป็นประชาธิปไตย/ปชช.เป็นสุข
หลักการ Wilkinson= บันทึก/Date/Intervention/Evaluation
4.การประเมินการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
คือ รวบรวมผลการดำเนินงานเปรียบเทียบวัตถุประสงค์ว่าตรงไหมแค่ไหน เพื่อแจงความคืบหน้า ชี้ปัญหา ผลกระสบที่เกิดจากการดำเนินงาน เพื่อจัดการต่อ
ขั้นตอน=ศึกษาพิจารณาโครงการ/กำหนดวิธีประเมิน/พิจารณาข้อมูลมี่จะมาประเมิน เชิงประมาณ,คุณภาพ/กำหนดเวลาประเมินผล,ผู้รับผิดชอบ/ดำเนินการ/สรุปผล เสนอแนะ
Evaluation 2 แบบ= Formative ระหว่างดำเนินงาน/ Summative evaluation หลังสิ้นสุดโครงการ
องค์ประกอบ= กำหนดดัชนีชี้วัด/หลักเกณฑ์/เครื่องมือ/วิธีประเมิน
ประเมินถูก เหมาะสม /ตามแผน ประเมินความก้าวหน้า /ประเมินเมื่อสิ้นสุดงาน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลกระทบ ความเพียงพอ