Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน, นางสาวพัชริดา สมพันธ์ เลขที่ 079
รหัสนักศึกษา…
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
หลักการพัฒนาชุมชน
-
-
-
- ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด
-
-
-
-
- ใช้หลกประชาธิปไตยในการปฏิบัติงานร่วมกัน
-
-
วิธีการประเมินผล
- การประเมินเมื่อสิ้นสุดการดําเนินงานตามแผน
- การประเมินประสิทธภิาพ (Efficiency)
- การประเมินประสิทธผล (Effectiveness)
- การประเมินผลกระทบหรือผลข้างเคียง (Efficacy or lmpact)
- การประเมินความเพียงพอ (Adequacy)
-
การจัดการแก้ไขปัญหาชุมชน
-
เป้าหมายยึดหลัก/แนวคิด
-
- กระตุ้นให้ชุมชนรู้ปัญหาของชุมชนเอง และรับรู้ความก้าวหน้าของงาน
- เปิดโอกาสให้ชุมชนทําเองในสิ่งที่เขาทําได้ เพื่อสร้างความภาคภูมิใจ
- เน้นให้ชุมชนทําโดยการสอน หรือให้คำแนะนําจนทําได้ ไม่เน้นการให้ฝ่ายเดียว
- กระตุ้นให้ทุกคนรับ ผิดชอบงานเป็นระยะ เพื่อเป็นแรงเสริม ด้านกําลังใจและหมั่นแจ้งความก้าวหน้า
- การปรึกษาหารือและการประชุม เป็นสิ่ง จําเป็นในทุกขั้นตอน
- เป็นแบบอย่างที่ดีใหความสําคัญของความเป็นคนโดยเฉพาะผู้มีอาวุโสกว่า
- วิธีดำเนินงานสามารถปรับปรุง ประยุกต์ได้หลายรูปแบบ เพื่ออให้เหมาะสมกับแต่ละชุมชน
- เป้าหมายสุดท้ายการดําเนินงานสุขภาพชุมชนต้องคํานึงถึง “ชาวบ้าน” เสมอ เพือคุณภาพชีวิต บุคคลครอบครัวชุมชน
- การตัดสินใจ ให้ชุมชนตัดสินเอง
ขั้นเตรียมงาน
- เสนอแผนการปฏิบัติงานโครงการแก่หน่วยงาน 4 กระทรวงหลัก
- ประชุมปรึกษาและชี้แจงปัญหาและแนวทางการปฏิบัติงาน การแก้ไขปัญหาให้แก่คณะกรรมการหมู่บ้าน,อสม และประชาชน
- จัดเตรียมอุปกรณ์ / งบประมาณในการจัดนิทรรศการและบอร์ดสุขศึกษาเรื่องโรคเอดส์
ขั้นดำเนินงาน
- ออกเสียงตามสายให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม- 30 สิงหาคม 2564 เวลา 19.00-19.30 น ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม . อาสาสมัครผู้นําเอดส์จํานวน 40 คน ในวันที่ 11 มีนาคม 2564 เวลา 8.30-16.30น .รพ สต
- จัดแบ่งนักศึกษา อสม และอาสาสมัครผู้นําเอดส์ให้ความรู้แก่ครัวเรือนที่ไม่มีความรู้เรื่อง โรคเอดส์ และไม่รู้วิธีป้องกันโรคเอดส์ จํานวน 86 หลังคาเรือน ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน – 30 สิงหาคม 2564 เดือนละ 1 ครั้ง
- ร่วมจัดนิทรรศการเพื่อสุขภาพให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ โดยการจัดทําบอรด์ , ฉายวีดีโอ แจกเอกสารแผ่นพับในวัน อาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติวันที่ 11-19 มีนาคม 2564 ที่ รพสต.
- ร่วมจัดตั้งกลุ่ม to be number one ในโรงเรียนในวันที่ 20 มีนาคม 2564
- จัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม/ร่วมสังเกตขณะที่อาสาสมัครผู้นําเอดส์ให้ความรูแก่ครัวเรือน วันที่ 21- 25 กันยายน 2564
การเขียนโครงการ
-
-
มีข้อมูลสนับสนุน (ควรเขียนข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่น ตัวเลข สถิติต่าง ๆ เขียนอย่างมีลําดับความสัมพันธ์ สั้น เข้าใจง่าย จากระดับใหญ่ไปหาเล็ก)
-
-
-
-
กําหนดสิ่งที่โครงการต้องการให้เกิดในปรมาณที่แน่นอน ชัดเจน ตามระยะเวลาที่กําหนดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
-
-
กําหนดกิจกรรมการทํางานเพื่อแก้ไขปัญหาหรือสาเหตุ โดยระบุวัน เวลาซึ่งคาดว่าดําเนินการแล้วจะส่งผลให้บรรลุเป้าหมายที่กําหนด
แยกเป็น 2 ขั้น ตอน คือ ขั้นเตรียมงาน ขั้นดําเนินงาน เป็นการเตรียมความพร้อมของทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องงก่อนเริ่มลงมือปฏิบัติงาน
-
ประหยัด (Economy)
ประสิทธิภาพ (Efficiency
ได้ผลตอบแทนคุ้มค่าประสิทธผล (Effectiveness) ยุติธรรม (Equity)
-
-
-
- ผู้เขียน ผู้เสนอ ผู้เห็นชอบ ผู้อนุมัติโครงการ
-
การวางแผนงาน
-
-
Master Plan
- ปัญหาสาธารณสุข = อัตราป่วย อัตราตาย สภาวะที่ทําให้เกิดปัญหา
- เป้าหมาย = กําหนดปริมาณที่ต้องการให้ลดหรือเพิ่ม
-
-
- วิเคราะห์ปัญหา = สาเหตุของปัญหาตามหลักวิชาและเหตุผล
- ทรัพยากร = วัสดุ อุปกรณ์ ยานพาหนะ บุคลากรทางการเงิน
-
-
-
-