Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเด็นการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน - Coggle Diagram
ประเด็นการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
การวางแผนงาน
ประเภทของแผน
1.ประเภทของแผนแบ่งตามเวลา
1.1แผนระยะยาว
1.2แผนระยะปานกลาง
1.3แผนระยะสั้น
2.ประเภทของแผนแบ่งโดยอาศัยการกระทําเป็นหลัก
2.1แผนเพื่อการกระทําซํ้าหรือแผนถาวร
2.2แผนเพื่อแกปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ซํ้าซ้อน หรือแผนเพื่อใช้ครั้งเดียว
ประเภทแบบแผนแบ่งตามพื้นที่
3.1แผนชาติ เป็นการวางแผนในลักษณะกาหนดเป็นแนวทางหรือนโยบาย
3.2 แผนภาค เป็ นการวางแผนในลักษณะของการมุ่งเน้นการปฏิบัติโดยยึดนโยบายเป็ นกรอบ
3.3 แผนพื้นที่ เป็นการวางแผนในลักษณะของแผนงานหรือโครงการ
4.ประเภทของแผนแบ่งตามลายลักษณ์อักษร
4.1 แผนที่มีลายลักษณ์อักษร
แผนการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่อง
4.2แผนที่ไม่มีลายลักษณ์อักษร
แผนประจําวัน
ลักษณะของแผนงานอนามัยชุมชนที่ดี
ตั้งอยู่บนรากฐานของความเป็นจริง
มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นไปตามสถานการณ์ของ
ความเป็นจริง จูงใจให้มองเห็นแนวทางการแก้ไขปัญหา
มีกลยุทธ์หรือกิจกรรมการแก้ไขปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้
กำหนดการใช้ทรัพยากรและงบประมาณได้อย่างเหมาะสมกับชุมชนและเกิดประโยชน์สูงสุด
กำหนดระยะเวลาการทำงานที่แน่นอน
กำหนดขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบ
สามารถประเมินความสำเร็จของงานได้
มีลักษณะยืดหยุ่นและง่ายต่อการแก้ไข
เป็นแผนที่สอดคล้องกับนโยบาย
แผนงานหลักหรือแผนงานแม่บท
ปัญหาสาธารณสุข
การวิเคราะปัญหาและแผนงานที่เกี่ยงข้องกับปัญหา
เป้าประสงค์ในการแก้ปัญหา
กลวิธีในทางสาธารณสุขในการแก้ปัญหา
ทรัพยากรหรือแหล่งประโยชน์หรือขุมพลังที่จะใช้ในการแก้ปัญหา
การประเมินผล
การจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาชุมชน
ออกเสียงตามสายให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์
จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม.อาสาสมัครผู้น
เอดส์
จัดแบ่งนักศึกษา อสม. และอาสาสมัครผู้นำเอดส์ให้ความรู้แก่ครัวเรือนที่ไม่มีความรู้เรื่องโรคเอดส์
ร่วมจัดนิทรรศการเพื่อสุขภาพให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ โดยการจัดทําบอร์ด, ฉายวีดีโอ แจกเอกสารแผ่นพับในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ
การเขียนโครงการ
หลักการพัฒนาชุมชน
1.คนเป็นศูนย์กลาง
พัฒนาพร้อมกับด้านอื่น
ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้ได้ประโยชน์สูงสุด
สอดคล้องกับแบบแผนชีวิต
เชิงรุก > เชิงรับ
7.เน้นการประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง
มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
หลักประชาธิปไตยในการปฏิบัติงานร่วมกัน
ให้เกิดประชาชนเกิดความสุข
หลัก Wilkinson
1.บันทึก
Date
3.Intervention
4.Evaluation
การประเมินโครงการ (Community evaluation)
จุดมุ่งหมายของการประเมินผล
เพื่อวัดความเจริญก้าวหน้าของงาน
เพื่อหาเหตุผลของความสำเร็จ
เพื่อเปิดเผยหลักที่สำคัญของความสำเร็จของโครงการ
เพื่อเป็นหลักในการพิจารณาแก้ไข
เพื่อความเข้าใจและความชัดเจนของโครงการ
เพื่อพัฒนาโครงการ
เพื่อทำตามเกณฑ์หรือระเบียบที่กำหนดไ ว
การประเมินผลแบ่งออกเป็น 2 แบบได้แก่
Formative evaluation เป็นการประเมินผลระหว่างการดำเนินงานตลอดเวลา
Summative evaluation เป็นการประเมินผลรวมสรุป มักจะใช้ประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ
องค์ประกอบของการประเมินผล ประกอบด้วย
กำหนดคัชนีชี้วัด
หลักเกณฑ์
เครื่องมือ
วิธีการในการประเมินผล
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
(1.) ควบคุมอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร
(2.) การปรับปรุงสภาพแวดล้อม
(3.) เน้นกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้มากขึ้น
(4.) จัดสวัสดิการในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ที่ยากจนหรือผู้ที่ด้อยโอกาส
(5.) เพิ่มงบประมาณด้านสาธารณสุข
(6.) ต้องกระจายบุคลากรทางแพทย์ให้ทั่วถึง