Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน, นางสาวนิตยา ชานวาทิกตระกูล 068 - Coggle Diagram
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
แผนงานหลักหรือแผนแม่บท (masterplan)
ปัญหาสาธารณสุข(health problem identification)
การวิเคราะห์ปัญหาและสภาวะที่เกี่ยวข้องกับปัญหา(problem and related condition analysis)
เป้าประสงค์ในการแก้ปัญหา ( goal)
กลวิธีทางสาธารณสุขในการแก้ปัญหา (public health strategies)
ทรัพยากรหรือแหล่งประโยชน์หรือขุมพลังที่จะใช้ในการแก้ปัญหา (resources)
การประเมินผล(evaluation)
การจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาชุมชน
การดําเนินโครงการ
(Community implementation)
หลักการพัฒนาชุมชน
คนเป็นศูนย์กลาง
พัฒนาพร้อมกบด้านอื่น
ปชช.มีส่วนรวม
ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้ได้ประโยชน์สูงสุด
เชิงรุก > เชิงรับ
เน้นการประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
หลักประชาธิปไตยในการปฏิบัติงานร่วมกัน
ให้เกิดประชาชนเกิดความสุข
หลัก Wilkinson
บันทึก
Date
Intervention
Evaluation
การประเมินผล
หมายถึง การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับผลของการดําเนินงาน เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ว่าได้ผลตามที่กําหนดไว้เพียงใด
จุดม่งหมายของการประเมินผล
เพื่อวัดความเจริญกาวหน้าของงาน
เพื่อหาเหตุผลของความสําเร็จ
เพื่อเปิ ดเผยหลักที่สําคัญของความสําเร็จของโครงการ
เพื่อเป็นหลักในการพิจารณาแกไข้
เพื่อความเข้าใจและความชัดเจนของโครงการ
เพื่อพัฒนาโครงการ
เพื่อทําตามเกณฑ์หรือระเบียบที่กำหนดไว้
การประเมินผลแบ่งออกเป็น 2 แบบ
Formative evaluation เป็นการประเมินผลระหว่างการดําเนินงานตลอดเวลา
Summative evaluation เป็นการประเมินผลรวมสรุป มักจะใช้ประเมินหลังสินสุดโครงการ
องค์ประกอบของการประเมินผล
กำหนดดัชนีชี้วัด
หลักเกณฑ์
เครื่องมือ
การวางแผน
ประเภทของแผน
แผนระยะยาว
ระยะดําเนินงานตั้งแต่5-10 ปี ขึ้น
แผนระยะปานกลาง
ระยะดําเนินงานอยู่ระหว่าง 2-5 ปี
แผนระยะสั้น
ระยะดําเนินงานอยู่ระหว่าง 2 ปี ลงไป
แผนแบ่งการกระทําเป็นหลัก
แผนเพื่อการกระทําซ้ำ
แผนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ซ้ำซ้อน
แผนแบ่งตามพื้นที่
แผนชาติ
การวางแผนในลักษณะกาหนดเป็นแนวทางหรือนโยบาย
แผนภาค
การวางแผนในลักษณะของการมุ่งเน้นการปฏิบัติโดยยึดนโยบายเป็นกรอบ
แผนพื้นที่
การวางแผนในลักษณะของแผนงานหรือโครงการ โดยเน้นกิจกรรมการแก้ไขปัญหา
แผนแบ่งตามลายลักษณ์อักษร
มีลายลักษณ์อักษร
มีลายลักษณ์อักษรแก้ปัญหาเฉพาะเรื่อง
ไม่มีลายลักษณ์อักษร
ไม่สามารถตรวจสอบหลักฐานได้
ลักษณะของแผนงานอนามัยชุมชนที่ดี
ตั้งอยู่บนรากฐานของความเป็นจริง
มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย และเป็นไปตามสถานการณ์ของความเป็นจริง จูงใจให้มองเห็นแนวทางการแก้ไขปัญหา
มีกลยุทธ์หรือกิจกรรมการแก้ไขปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้
กาหนดการใช้ทรัพยากรและงบประมาณได้อย่างเหมาะสมกับชุมชนและเกิดประโยชน์สูงสุด
กาหนดระยะเวลาการทํางานที่แน่นอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการทํางาน
นางสาวนิตยา ชานวาทิกตระกูล 068