Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลจิตเวชเด็กและวัยรุ่น, นางสาวณัฐนรี สวนจันทร์ เลขที่ 2…
การพยาบาลจิตเวชเด็กและวัยรุ่น
Attention Deficit Hyperactivity Disorders สมาธิสั้น
ลักษณะอาการ 3 ลักษณะ
อาการซนอยู่ไม่นิ่งและอาการหุนหันพลันแล่น
ขยับตัวไปมา
นั่งไม่ติดที่
วิ่งวุ่นในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม
ไม่สามารถเล่นเงียบๆได้
เคลื่อนไหวไปมาคล้ายติดเครื่องยนต์ตลอดเวลา
พูดมากเกินไป
พูดโพล่งขึ้นมาก่อนถามจบ
มีความยากลำบากในการรอคอย
ขัดจังหวะหรือสอดแทรกผู้อื่น ขณะพูดหรือเล่นอยู่
อาการขาดสมาธิ 6ใน 9
ละเลยรายละเอียด ทำผิดด้วยความเลินเล่อ
มีความยากลำบากในการตั้งสมาธิ
ดูเหมือนไม่ฟังเมื่อมีคนพูดด้วย
ทำตามคำสั่งไม่จบ
จัดระเบียบงานไม่ได้
เลี่ยงกิจกรรมที่ต้องใช้ความพยายาม
ทำของหายบ่อยครั้ง
วอกแวกง่าย
ลืมกิจวัตรประจำวันที่ต้องทำสม่ำเสมอ
สาเหตุ
ทางสมองคือ prefrontal
สื่อนำประสาทคือ Norepineprine, Dopamine, Serotonin
เป็นโรคหนึ่งในกลุ่มโรคพัฒนาการระบบประสาท พบในเด็กวัยเรียนเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ทำให้เด็กมีปัญหาการเรียน ส่งผลถึงด้านอื่นๆของชีวิตได้
การรักษาและการพยาบาล
การใช้ยา
กลุ่มยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นสมองและประสาทส่วนกลาง เช่น Methylphenidate
กลุ่มยาที่ไม่ออกฤทธิ์กระตุ้นสมองและประสาทส่วนกลาง เช่น Atomoxetine, ยารักษาอาการซึมเศร้า
พฤติกรรมบำบัด
ลดสิ่งเร้า ตัวกระตุ้นให้น้อยที่สุด
เพิ่มสมาธิ เริ่มจาการกำกับเด็กตัวต่อตัวแล้วค่อยเพิ่มเวลาในการทำกิจกรรม
เพิ่มการควบคุมตนเองของเด็ก กำหนดตารางกิจกรรม
ประเมินความก้าวหน้าให้เด็กรับรู้ มีแรงเสริมทางบวกเมื่อทำดี
การฝึกทักษะและให้ความรู้ผู้ปกครอง
เปิดโอกาสใหเด็กไดระบายเมื่อไม่พอใจ
ใช้คำกระชับ เขาใจง่ายพร้อมมองจา
จำกัดเวลาหน้าจอ ให้นอนอย่างเหมาะสม
การจัดการศึกษา ประสานงานกับครูอย่างสม่ำเสมอ เพื่อใหมีแผนในการรับมือกับเด็ก
Game and Internet
เป็นรูปแบบของพฤติกรรมการเล่นเกม ที่ผู้เล่นไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ต้องเล่นอย่างต่อเนื่องและระยะเวลาการเล่นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่สนใจทำกิจกรรมอื่น และยังคงเล่นต่อไปแม้จะมีผลกระทบทางด้านลบตามมา ส่งผลกระทบต่อหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ทั้งเรื่องส่วนตัว ครอบครัว สังคม การเรียน และการทำงาน มีพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย 12 เดือน”
ลักษณะของเด็กติดเกม
แสวงหาการเล่น ไม่สามารถควบคุมตัวเองใช้เวลาในการเล่นเกมติดต่อกันหลายชั่วโมง
ต้องเล่นนานขึ้นเรื่อย ๆ ไม่หลับไม่นอน
หากถูกบังคับให้หยุดเล่น จะมีปฏิกิริยาต่อต้าน
ส่งผลกระทบต่อหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก เช่น ไม่สนใจการเรียน มีปัญหาพฤติกรรมอื่น ๆ เช่น โกหก ดื้อ
สาเหตุ
ปัจจัยในตัวเด็กเอง: เช่น เด็กที่เป็นสมาธิสั้น เด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ เด็กที่มีปัญหาการเรียน เด็กที่มีปัญหาทางอารมณ์ ซึมเศร้า หรือวิตกกังวล เด็กที่ขาดทักษะทางสังคม
ปัจจัยทางครอบครัว: การเลี้ยงดูแบบตามใจ ขาดการฝึกให้เด็กมีวินัยในตนเอง ขาดกฎกติกาในบ้าน ไม่ทำโทษเมื่อเด็กกระทำผิด
ปัจจัยทางสังคม ยุคดิจิทัล มีความเสมือนจริง มีพลังปลุกเร้าความตื่นเต้นและเพลิดเพลินสำหรับเด็ก กลุ่มเพื่อนก็มีอิทธิพลสูง
ปัจจัยจากเกม เกมในยุคปัจจุบันมีการพัฒนาภาพและเสียงเสมือนจริง เนื้อหาน่าติดตาม มีความหลากหลาย
แนวทางป้องกันและแก้ไข
ทำความตกลงเรื่องกฎกติกากันล่วงหน้าก่อนที่จะอนุญาตให้เด็กเล่นเกม หากผิดกติกาจะมีบทลงโทษอย่างไร
คอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นเกมควรตั้งไว้ในสถานที่โล่ง
มีกิจกรรมที่ทำร่วมกันในครอบครัว
เสพติดการพนัน (Gambling addiction)
สาเหตุ
เช่นเดียวกับยาหรือแอลกอฮอล์
กลไกการเสพติดพนันไปมีผลกระตุ้นสมองส่วนระบบการให้รางวัล ซึ่งเป็นต้นเหตุการณ์ติด
สารสื่อประสาทในสมองโดปามีนเสียสมดุล
อาการ
1.Withdrawal รู้สึกกระสับกระส่ายหรือหงุดหงิดง่ายเวลาพยายามหยุดหรือลดการเล่นพนัน
2.Affect significant relationship ความสัมพันธ์กับบุคคลสำคัญเสียไปเพราะการพนัน
3.Goal is to get even by chasing หลังจากเสียเงินพนันแล้ว ได้พยายามที่จะกลับไปเล่นเพื่อเอาเงินคืน
4.Escape เล่นการพนันเพื่อหาทางออกจากปัญหา
5.Rescue ต้องให้บุคคลอื่นหาเงินมาช่วยให้พ้นจากการเป็นหนี้พนัน
6.Outside the laws ทำผิดกฎหมาย
Failure to control พยายามที่จะควบคุม ลด แต่ทำไม่สำเร็จบ่อยครั้ง
8.Tolerance พนันด้วยการเพิ่มปริมาณเงินมากขึ้นเรื่อย ๆ
9.Evades telling the truth โกหกครอบครัว แพทย์ผู้รักษา เพื่อปกปิด
10.Needs to think about gambling ครุ่นคิดถึงแต่การพนันอย่างมาก
“แม้เจ้าตัวรู้ว่าสิ่งที่ทำลงไปเป็นสิ่งไม่ดี เป็นสิ่งผิด หรือส่งผลร้ายต่อชีวิต เช่น การเงิน การเรียน สุขภาพ หรือสังคม แต่ก็อดไม่ได้ที่จะไม่ทำ คล้ายการติดสารเสพติด มีจิตใจจดจ่ออยู่กับการพนันตลอดเวลา ไม่สามารถคิด หรือทำอย่างอื่น มีแต่ความโหยหาอยากเล่น ยากที่จะควบคุม ในที่สุดก็เล่นการพนันต่อโดยไม่ยั้งคิด พฤติกรรมพวกนี้คล้ายพฤติกรรมย้ำคิดย้ำทำ ซึ่งต้องรับการบำบัดรักษา”
การบำบัดรักษา
การติดพนันจะเป็นภาวะเรื้อรัง และมักจะกลับเป็นซ้ำได้บ่อยๆ
cognitive behavioral therapy
Counseling
การรักษาด้วยยา : ยาคลายกังวล ยาต้านเศร้า
Learning Disorders โรคบกพร่องทางการเรียนรู้
แบ่งเป็น 3 ด้าน
ความบกพร่องด้านการอ่าน พบได้มากที่สุด จดจำ พยัญชนะ สระ และการสะกดคำ จึงอ่านหนังสือไม่ออก อ่านออกเสียงไม่ชัด
ความบกพร่องด้านการเขียนสะกดคำ เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ไม่ถูกต้อง เรียงลำดับอักษรผิด จึงเขียนหนังสือและสะกดคำผิด
ความบกพร่องด้านคณิตศาสตร์ ขาดทักษะและความเข้าใจค่าของตัวเลข จึงคำนวณไม่ได้
ลักษณะอาการ ตาม DSM-5 นานกว่า 6 เดือน มีอย่างน้อย 1 จาก 6 อาการ
อ่านช้าหรืออ่านไม่ถูกต้อง
ยากลำบากในการทำความเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน
ยากลำบากในการสะกดคำ
ยากลำบากในการเขียน
ยากลำบากในการจัดการกับจำนวน ตัวเลข และการคำนวณ
ยากลำบากในเหตุผลทางคณิตศาสตร์
ผลกระทบจาก LD
เด็กมีภาพลบต่อตนเอง มองว่าตนเองแตกต่างจากเพื่อน
ปัญหาความสัมพันธ์ภายในครอบครัว เด็กดื้อ ต่อต้าน เกเร หนีเรียน
ปัญหาความสัมพันธ์กับครู เด็กปล่อยปละละเลย
ปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อน เด็กมักถูกล้อเลียน
นางสาวณัฐนรี สวนจันทร์ เลขที่ 2 116312201003-1