Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ใบงานบทที่ 6 การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน - Coggle Diagram
ใบงานบทที่ 6 การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
ความหมาย
การที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเข้าร่วมในกระบวนการตัดสินใจในการกำหนดสิ่งที่จะนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน โดยระบุวัตถุประสงค์ กิจกรรม ทรัพยากร ผู้รับผิดชอบ และการประเมินผล
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
4.จัดสวัสดิการในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ที่ยากจนหรือผู้ที่ด้อยโอกาส
5.เพิ่มงบประมาณด้านสาธารณสุข
3.เน้นกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้มากขึ้น
6.ต้องกระจายบุคลากรทางแพทย์ให้ทั่วถึง
2.การปรับปรุงสภาพแวดล้อม
7.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน
1.ควบคุมอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากร
การวางแผนงาน
ความหมาย
การวางแผนเป็นกระบวนการที่กำหนดงานที่จะต้องทำในอนาคตโดยใช้วิธีที่เหมาะสมที่สุด ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและกำหนดรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด
ประเภทของแผน
แบ่งโดยอาศัยการกระทำเป็นหลัก
แผนเพื่อการกระทำซ้ำหรือแผนถาวร
แผนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ซ้ำซ้อน หรือแผน เพื่อใช้ครั้งเดียว
แบ่งตามพื้นที่
แผนชาติ
กำหนดเป็นแนวทางหรือนโยบาย
แผนภาค
มุ่งเน้นการปฏิบัติโดยยึดนโยบายเป็นกรอบ
แผนพื้นที่
เน้นกิจกรรมการแก้ไขปัญหา
แบ่งตามเวลา
แผนระยะสั้น
ระยะดำเนินงานตั้งแต่ 2 ปีลงไป
แผนระยะปานกลาง
ระยะดำเนินงานตั้งแต่ 2-5 ปี
แผนระยะยาว
ระยะดำเนินงานตั้งแต่ 5-10 ปีขึ้นไป
แบ่งตามลายลักษณ์อักษร
แผนที่มีลายลักษณ์อักษร
แผนที่ไม่มีลายลักษณ์อักษร
การจัดทำแผนงานสาธารณสุข
นิยมจัดเป็น 2 อย่าง
แผนงานหลักหรือแผนแม่บท
(master plan)
ช่วยให้แผนปฏิบัติการในการแก้ปัญหามีความละเอียดมากขึ้น
แบ่งได้ ดังนี้
เป้าประสงค์ในการแก้ปัญหา (goal)
กลวิธีการพยาบาลชุมชน
การฝึกอบรม (Training)
การรณรงค์ (Campaign)
การให้ความรู้ทางสุขภาพ (HE)
การอนามัยโรงเรียน (SC)
การเยี่ยมบ้าน (HV)
การให้บริการคลินิกเคลื่อนที่ (MC)
การดูแลสุขภาพที่บ้าน (HHC)
การวิเคราะห์ปัญหาและสภาวะที่เกี่ยวข้องกับปัญหา (problem and related condition analysis)
ปัญหาสาธารณสุข
(health problem identification)
การประเมินผล (evaluation)
ทรัพยากรหรือแหล่งประโยชน์หรือขุมพลังที่จะใช้ในการแก้ปัญหา (resources)
กลวิธีทางสาธารณสุขในการแก้ปัญหา (public health strategies)
คือ กลวิธีต่างๆหรือกลุ่มกิจกรรมที่จะนำมาแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่พบในชุมชนนั้น จะต้องอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
แผนงานย่อย (sub plan)
ต้องมีการกำหนดเป้าหมายในการดำเนินกิจกรรม (Goal) หากพยาบาลชุมชนวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหาได้อย่างละเอียดแล้ว จะทราบถึงความสามารถในการแก้ปัญหาว่ามากน้อยเพียงใด แล้วนำไปตั้งเป้าหมาย
การเขียนโครงการ
แบบแผนการเขียนโครงการแบบดั้งเดิม (Conventional Plan Design)
2.หลักการและเหตุผล
เขียนความเรียง เพื่อชี้ให้เห็นสภาพความเป็นจริงของปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น พร้อมมีข้อมูลสนับสนุนที่น่าเชื่อถือ
3.วัตถุประสงค์
การกำหนดสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นในการดำเนินโครงการ
*มักเขียนเพื่อแก้ไข/ลด ปัญหาหรือสาเหตุ
หลัก 5 ประการในการเขียนวัตถุประสงค์ คือ SMART ดังนี้
A = Attainable
ระบุสิ่งที่ต้องการดําเนินงานชัดเจน
R = Reasonable
เป็นเหตุเป็นผลในการปฏิบัติงาน
M = Measurable
วัดได้ ประเมินผลได้
T = Time
มีขอบเขตเวลาที่แน่นอนในการปฏิบัติงาน
S = Sensible
เป็นไปได้ในการทําโครงการ
1.ชื่อโครงการ
สั้น กระชับ สอดคล้องกับกลวิธีหรือกิจกรรมที่ทำ
4.เป้าหมาย
การกำหนดสิ่งที่โครงการต้องการให้เกิดในปริมาณที่แน่นอน ชัดเจน ตามระยะเวลาที่กำหนดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5.สถานที่ดำเนินงาน
พื้นที่เป้าหมายที่ไปทำการศึกษา
6.วิธีการดำเนินงาน
แยกเป็น 2 ขั้นตอน
ขั้นเตรียมงาน
เตรียมความพร้อมของทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาทั้งภาครัฐและเอกชน
การตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ
การประชาสัมพันธ์
ขั้นดำเนินงาน
กำหนดกิจกรรมการทำงาน โดยระบุ วัน เวลา
สถานที่
7.ระยะเวลา
ตั้งแต่เริ่มเขียนโครงการ จนถึง ประเมินผลของโครงการ
8.งบประมาณ
ควรคำนึงถึงหลัก 4 ประการ คือ
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประสิทธิผล (Effectiveness)
ประหยัด (Economy)
ยุติธรรม (Equity)
9.การประเมินผล
เครื่องมือ
วิธีการ
หลักเกณฑ์
ระยะเวลาการประเมินผลทั้งหมด
กำหนดดัชนีตัวชี้วัด
10.ผู้รับผิดชอบโครงการ
11.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
*มักไม่นิยมนำวัตถุประสงค์มาเขียน
เป็นการบอกถึงประโยชน์ของโครงการตั้งแต่เริ่ม ขณะดำเนินการ และใช้เวลาต่อไปหลังเสร็จสิ้นโครงการ
12.ผู้เขียน ผู้เสนอ ผู้เห็นชอบ ผู้อนุมัติโครงการ
13.ผังกำกับงาน
การจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาชุมชน
3.เพื่อรวมพลังหรือศักยภาพของชุมชน
4.เพื่อนำพลังหรือศักยภาพของชุมชนมาใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
2.เพื่อพัฒนาความสามารถของบุคคลและกลุ่มในชุมชน
1.เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลกับบุคคล บุคคลกับกลุ่ม และกลุ่มกับกลุ่มในชุมชน