Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน - Coggle Diagram
การแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน
การเขียนโครงการ
4.เป้าหมาย
กำหนดสิ่งที่โครงการต้องการให้เกิดในปริมาณที่แน่นอน ชัดเจน ตาม ระยะเวลาที่กำหนด
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5.สถานที่ดำเนินงาน
6.วิธีการดำเนินงาน
ชั้นเตรียม
ตรวจสอบความพร้อม
ประชาสัมพันธ์
เตรียมความพร้อมทีม
ชั้นดำเนินงาน
ระบุวัน เวลา สถานที่
กำหนดผู้ีับผิดชอบ โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม
3.วัตถุประสงค์
A : Attainable = ระบุสิ่งที่ต้องการดำเนินการชัดเจน
R : Reasonable = เป็นเหตุเป็นผลในการปฎิบัติงาน
M : Measurable = ต้องวัดและประเมินได้
T : Time = มีขอบเขตเวลาที่แน่นอนในการปฎิบัติงาน
S : Sensible = ความเป็นไปได้ในการทำโครงการ
7.ระยะเวลา
2.หลักการและเหตุผล
ผลกระทบที่เกิดขึัน พร้อมข้อมูลสนับสนุน
เปรียนเทียบหลักฐานเชิงประจักษ์
ชี้ให้เห็นถึงสภาพความเป็นจริงของปัญหา
8.งบประมาณ
ประสิทธิภาพ
ประสิทะิผล
ประหยัด
ยุติธรรม
9.การประเมินผล
เกณฑ์
เครื่องมือ
ระบุดัชนี
วิธีการ ระยะเวลา
10.ผู้รับผิดชอบโครงการ
11.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
12.ผู้เขียน ผู้เสนอ ผู้เห็นชอบ ผู้อนุมัติโครงการ
1.ชื่้อโครงการ
สอดคล้องกับกลวิธีที่ทำกิจกรรม
กระชับได้ใจความ
13.ผังกำกับงาน
การวางแผนงาน
3.ปะเภทของแผนแบ่งตามพื้นที่
แผนภาค
มุ้งเน้นการปฎิบัติยึดนโยบายเป็นกรอบ
แผนที่
แผนงานหรือโครงการ
เน้นกิจกรรมการแก้ปัญหา
แผนชาติ
กำหนดเป็นแนวทางหรือนโยบาย
1.ประเภทของแผนแบ่งตามเวลา
แผนระยะสั้น
ต่ำกว่า 2 ปี
กำหนดกิจกรรมเพียงครั้งเดียวเพื่อแก้ไขปัญหา
แผนระยะยาวแผนแบ่งตามเวลา
5-10 ปีขึ้นไป
มีนโยบายหรือทิศทางการแก้ปัญหา
แผนระยะปานปลาง
2-5 ปี
อาศัยโครงจากแผนระยะยาว
4.ประเภทแบ่งตามลายลักษณ์อักษร
แผนที่มีลายลักษณ์อักษร
มีความซับซ้อน
แก้ปัญหาเฉพาะเรื่อง
เป็นหลักฐานสามารถตรวจสอบได้
แผนที่ไม่มีลายลักษณ์อักษร
ไม่ยุ่งยาก ใช้ทรัพยากรจำนวนน้อย
เช่น แผนประจำวัน
เป็นแผนที่ไม่สามารถตรวจสอบได้
2.ประเภทแผนแบ่งโดยอาศัยการกระทำเป็นหลัก
แผนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ซับซ้อน หรือแผนเพื่อใช้ครั้งเดียว
แผนเพื่อการกระทำซ้ำหรือแผนการถาวร
การแจัดกิจกรรมแก้ไข้ปัญหาชุมชน
ลำดับก่อน-หลัง
ยืดนโยบาย ยึดข้อมูล จัดทำเป็นระบบ
นำสาธารณสุขมูลฐานมาใช้
มุ้งเน้นการพัฒนาศักยภาพของบุคคลและชุมชน
ทำกิจกรรมกเป็นไปตามขั้นตอนของแผนงานโครงการที่เขียนไว้
เสริมสร้างทักษะและความเข้มแข็งของชุมชน
ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ของประชาชนและชุมชน
หลักการพัฒนาชุมชน
ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สอดคล้องกับแบบแผนชีวิต
ประชาชนมีส่วนร่วม
เชิงรุง มากกว่า เชิงรับ
พัฒนาพร้อมกับด้านอื่น
คนเป็นศูนย์กลาง
หลักประชาธิปไตย
ประชาชนเกิดความสุข
ระหว่างดำเนินงานควรมีการประเมินเป็นระยะ
การแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน
กำหนดระยะเวลาที่จะดำเนินการประมวลผล
กำหนดบุคลากรผู้รับผิดชอบในการประเมิน
พิจารณาข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการประเมิน แล้วนำมาวิเคราะห์
ดำเนินการประเมิน
กำหนดวิธีการที่จะใช้ในการประเมินผลให้ชัดเจน
สรุปประเด็นการประเมินผลที่ได้และเสนอเพื่อการปฎิบัติต่อไป
ศึกษาและพิจารณาโครงการที่จะประเมิน