Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงในระยะคลอด - Coggle Diagram
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงในระยะคลอด
ความรู้เกี่ยวกับการคลอด
การคลอด หมายถึง กระบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเพื่อขับทารก รก เยื่อหุ้มรก และน้ําคร่ำออกจากโพงมดลูกในครรภ์มารดามาสู่ภายนอก
การคลอดปกติ (Normal labor or eutocia)
1.อายุครรภ์ครบกําหนด คือ อายุครรภ์ 38 – 42 สัปดาห์
ทารกมียอดศีรษะเป็นส่วนนํา
กระบวนการคลอดทั้งหมดเป็นไปตามธรรมชาติ
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเจ็บจริงจนกระทั่งรกคลอด รวมกันไม่เกิน 24 ชั่วโมง
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆเกิดขึ้นในระยะคลอด
การคลอดผิดปกติ(Abnormal labor or dystocia)
1.การผ่าตัดเอาเด็กออกทางหน้าท้อง
2.การคลอดโดยใช้คีม
3.การคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
4.ระยะการคลอดยาวนาน
5.รกค้าง
ตกเลือด
ระยะของการคลอด
1.ระยะที่หนึ่งของการคลอด หมายถึง ระยะรอคลอด เริ่มตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์จริง
1.การแบ่งแบบ Classic labor 2.การแบ่งแบบ Friedman
2.ระยะที่สองของการคลอด หมายถึง ระยะคลอดทารก เริ่มตั้งแต่ปากมดลูกเปิดหมดจนถึงทารกคลอด
3.ระยะที่สามของการคลอด หมายถึง ระยะคลอดรก เริ่มตั้งแต่ทารกคลอดจนถึงรกและเยื่อหุ้มรกคลอดออกมาครบ
4.ระยะที่สี่ของการคลอด หมายถึง ระยะ 2 ชั่วโมงหลังคลอดเริ่มตั้งแต่รกจนถึงรกและเยื่อหุ้มรกคลอดแล้วจนถึง 2 ชม. หลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของมารดาและทารกในระยะคลอดทางด้านร่างกาย
ท้องลด
เจ็บครรภ์เตือน
3.สารคัดหลั่ง
4.การทํากิจกรรมเพิ่มขึ้น
5.การนุ่มของปากมดลูก
6.อาการปวดหลัง
อาการน้ําหนักลดและการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาในระยะที่ 1 ของการคลอด
1.การเปลี่ยนแปลงที่มดลูก
การเกิดรอยต่อที่กล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนและส่วนล่าง
3.การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
การเปลี่ยนแปลงของมูก
5.การเปลี่ยนแปลงในถุงน้ำคร่ํา
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับทารกในครรภ์
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาในระยะที่ 2 ของการคลอ
การหดรัดตัวของมดลูก
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม
การเปลี่ยนรูปร่างของพื้นเชิงกราน
4.การเคลื่อนของทารกผ่านช่องทางคลอด
ปัจจัยชักนําให้เกิดการคลอด ทฤษฎีการเจ็บครรภ์
ทฤษฎีของ Dick-Read
เป็นทฤษฎีที่สามารถ อธิบายกลไกการเกิดความเจ็บปวดในระยะคลอดได้ ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
ทฤษฎีควบคุมประตู
เจ้าของทฤษฎี คือ เมลเซคและวอลล์เกิดจากกระบวนการเปิดและปิดประตู ซึ่งเกิดจากการส่งกระแสประสาท
ความเจ็บปวด
ปัจจัยชักนําให้เกิดการคลอด ทฤษฎีการเจ็บครรภ์ ปัจจัยชักนําให้เกิดการคลอด
4.Psychological จิตใจต้องพร้อมสําหรับการคลอดปกติ
1.แรงผลักดัน
2.Passage เกี่ยวกับกระดูกเชิงกรานและช่องทางคลอด
Passenger ประกอบด้วยทารก รก น้ําคร่ํา
Physical condition สภาพร่างกายของผู้คลอด
Position ท่าในการคลอด